在东北残疾人生活质量促进中心实施低浮雕地图,引导盲人。

นิธิวดี ทองป้อง, สัญชัย สันติเวส
{"title":"在东北残疾人生活质量促进中心实施低浮雕地图,引导盲人。","authors":"นิธิวดี ทองป้อง, สัญชัย สันติเวส","doi":"10.56261/jars.v19i1.243643","DOIUrl":null,"url":null,"abstract":"การพัฒนาแผนที่นูนต่ำเพื่อนำทางคนตาบอดในศูนย์ส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการภาคตะวันออกเฉียงเหนือ มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาและประเมินผลการใช้งานหุ่นจำลองแผนที่นูนต่ำที่ผลิตจากเครื่องพิมพ์วัตถุ 3 มิติ เพื่อใช้ช่วยนำทางคนตาบอดในการเข้าถึงอาคารต่างๆ ในบริเวณศูนย์ส่งเสริมฯ โดยไม่มีผู้ช่วยนำทาง มีวิธีการวิจัยเชิงคุณภาพด้วยการสังเกตการณ์ แบบสอบถามและการสัมภาษณ์ มีกลุ่มตัวอย่างจำนวน 14 คน แบ่งเป็นคนตาบอดตั้งแต่กำเนิดและตาบอดภายหลังที่เคยอยู่และไม่เคยอยู่ในศูนย์ส่งเสริมฯ มาก่อน โดยให้อาสาสมัครสัมผัสหุ่นจำลองที่มีอาคารและผังบริเวณ ขนาดใหญ่พกพาไม่ได้มีมาตราส่วน 1 : 200 และขนาดพกพาได้มีมาตราส่วน 1 : 400 และ 1 : 750 ผลการศึกษาพบว่า กลุ่มตัวอย่างสามารถเข้าใจลักษณะของผังบริเวณด้วยการสัมผัสหุ่นจำลอง สามารถจัดวางหุ่นจำลองไปในทิศทางเดียวกันกับบริบทของศูนย์ส่งเสริมฯ ได้ โดยอ้างอิงจากสภาพแวดล้อมของเสียงที่ได้ยินและอุณหภูมิจากแสงแดด ใช้ประสบการณ์ประกอบกับทักษะของวิชาความคุ้นเคยสภาพแวดล้อมและการเคลื่อนไหว โดยกลุ่มตัวอย่างที่ไม่เคยอยู่ศูนย์ส่งเสริมฯ มาก่อนต้องใช้เวลาในการทำความเข้าใจและจดจำตำแหน่งที่สำคัญเพื่อนำทางตนเองไปยังสถานที่ต่างๆ ได้อย่างปลอดภัยโดยไม่จำเป็นต้องมีผู้ช่วยนำทาง ส่วนกลุ่มตัวอย่างที่เคยอยู่ศูนย์ส่งเสริมฯ มาก่อนเข้าใจได้ง่ายและใช้เวลาน้อยกว่า กลุ่มตัวอย่างทุกคนสามารถรับรู้เรื่องขนาดและสัดส่วนของหุ่นจำลองที่ถูกย่อส่วนจากขนาดจริงได้ การสร้างหุ่นจำลองแผนที่นูนต่ำควรมีการดัดแปลงรูปทรงของอาคารและพื้นที่บางส่วนเพื่อให้มีส่วนสัมผัสที่ปลอดภัยและเน้นเฉพาะส่วนที่สำคัญ มีการติดป้ายชื่อหรือคำอธิบายด้วยอักษรเบรลล์ ควรส่งเสริมให้มีการออกแบบและจัดทำหุ่นจำลองแผนที่สำหรับคนตาบอดในพื้นที่สาธารณะ","PeriodicalId":428713,"journal":{"name":"Journal of Architectural/Planning Research and Studies (JARS)","volume":"4 1","pages":"0"},"PeriodicalIF":0.0000,"publicationDate":"2021-09-21","publicationTypes":"Journal Article","fieldsOfStudy":null,"isOpenAccess":false,"openAccessPdf":"","citationCount":"0","resultStr":"{\"title\":\"ผลการใช้งานแผนที่นูนต่ำนำทางคนตาบอดในศูนย์ส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการภาคตะวันออกเฉียงเหนือ\",\"authors\":\"นิธิวดี ทองป้อง, สัญชัย สันติเวส\",\"doi\":\"10.56261/jars.v19i1.243643\",\"DOIUrl\":null,\"url\":null,\"abstract\":\"การพัฒนาแผนที่นูนต่ำเพื่อนำทางคนตาบอดในศูนย์ส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการภาคตะวันออกเฉียงเหนือ มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาและประเมินผลการใช้งานหุ่นจำลองแผนที่นูนต่ำที่ผลิตจากเครื่องพิมพ์วัตถุ 3 มิติ เพื่อใช้ช่วยนำทางคนตาบอดในการเข้าถึงอาคารต่างๆ ในบริเวณศูนย์ส่งเสริมฯ โดยไม่มีผู้ช่วยนำทาง มีวิธีการวิจัยเชิงคุณภาพด้วยการสังเกตการณ์ แบบสอบถามและการสัมภาษณ์ มีกลุ่มตัวอย่างจำนวน 14 คน แบ่งเป็นคนตาบอดตั้งแต่กำเนิดและตาบอดภายหลังที่เคยอยู่และไม่เคยอยู่ในศูนย์ส่งเสริมฯ มาก่อน โดยให้อาสาสมัครสัมผัสหุ่นจำลองที่มีอาคารและผังบริเวณ ขนาดใหญ่พกพาไม่ได้มีมาตราส่วน 1 : 200 และขนาดพกพาได้มีมาตราส่วน 1 : 400 และ 1 : 750 ผลการศึกษาพบว่า กลุ่มตัวอย่างสามารถเข้าใจลักษณะของผังบริเวณด้วยการสัมผัสหุ่นจำลอง สามารถจัดวางหุ่นจำลองไปในทิศทางเดียวกันกับบริบทของศูนย์ส่งเสริมฯ ได้ โดยอ้างอิงจากสภาพแวดล้อมของเสียงที่ได้ยินและอุณหภูมิจากแสงแดด ใช้ประสบการณ์ประกอบกับทักษะของวิชาความคุ้นเคยสภาพแวดล้อมและการเคลื่อนไหว โดยกลุ่มตัวอย่างที่ไม่เคยอยู่ศูนย์ส่งเสริมฯ มาก่อนต้องใช้เวลาในการทำความเข้าใจและจดจำตำแหน่งที่สำคัญเพื่อนำทางตนเองไปยังสถานที่ต่างๆ ได้อย่างปลอดภัยโดยไม่จำเป็นต้องมีผู้ช่วยนำทาง ส่วนกลุ่มตัวอย่างที่เคยอยู่ศูนย์ส่งเสริมฯ มาก่อนเข้าใจได้ง่ายและใช้เวลาน้อยกว่า กลุ่มตัวอย่างทุกคนสามารถรับรู้เรื่องขนาดและสัดส่วนของหุ่นจำลองที่ถูกย่อส่วนจากขนาดจริงได้ การสร้างหุ่นจำลองแผนที่นูนต่ำควรมีการดัดแปลงรูปทรงของอาคารและพื้นที่บางส่วนเพื่อให้มีส่วนสัมผัสที่ปลอดภัยและเน้นเฉพาะส่วนที่สำคัญ มีการติดป้ายชื่อหรือคำอธิบายด้วยอักษรเบรลล์ ควรส่งเสริมให้มีการออกแบบและจัดทำหุ่นจำลองแผนที่สำหรับคนตาบอดในพื้นที่สาธารณะ\",\"PeriodicalId\":428713,\"journal\":{\"name\":\"Journal of Architectural/Planning Research and Studies (JARS)\",\"volume\":\"4 1\",\"pages\":\"0\"},\"PeriodicalIF\":0.0000,\"publicationDate\":\"2021-09-21\",\"publicationTypes\":\"Journal Article\",\"fieldsOfStudy\":null,\"isOpenAccess\":false,\"openAccessPdf\":\"\",\"citationCount\":\"0\",\"resultStr\":null,\"platform\":\"Semanticscholar\",\"paperid\":null,\"PeriodicalName\":\"Journal of Architectural/Planning Research and Studies (JARS)\",\"FirstCategoryId\":\"1085\",\"ListUrlMain\":\"https://doi.org/10.56261/jars.v19i1.243643\",\"RegionNum\":0,\"RegionCategory\":null,\"ArticlePicture\":[],\"TitleCN\":null,\"AbstractTextCN\":null,\"PMCID\":null,\"EPubDate\":\"\",\"PubModel\":\"\",\"JCR\":\"\",\"JCRName\":\"\",\"Score\":null,\"Total\":0}","platform":"Semanticscholar","paperid":null,"PeriodicalName":"Journal of Architectural/Planning Research and Studies (JARS)","FirstCategoryId":"1085","ListUrlMain":"https://doi.org/10.56261/jars.v19i1.243643","RegionNum":0,"RegionCategory":null,"ArticlePicture":[],"TitleCN":null,"AbstractTextCN":null,"PMCID":null,"EPubDate":"","PubModel":"","JCR":"","JCRName":"","Score":null,"Total":0}
引用次数: 0

摘要

在东北地区的残疾人生活质量促进和改善中心开发低浮雕地图来引导盲人。用于引导盲人进入中心区域的建筑。在没有向导的情况下,我们进行了定性研究,通过观察、问卷和访谈,有14名受试者被分为先天性失明和后盲,他们以前住过,从来没有在推广中心工作过。研究结果表明,受试者可以通过触摸机器人来理解场地的布局,他们可以在推广中心的背景下以相同的方式布局。基于听觉环境和阳光温度,基于熟悉环境和运动技能的经验。以前从未去过推广中心的样本需要时间来理解和记住重要的位置,而不需要向导来安全导航。每个样本都能识别出真实尺寸的大小和比例。低浮雕地图模型的设计应对建筑的形状和某些区域进行修改,以提供安全的触摸,并特别强调重要的部分。
本文章由计算机程序翻译,如有差异,请以英文原文为准。
ผลการใช้งานแผนที่นูนต่ำนำทางคนตาบอดในศูนย์ส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
การพัฒนาแผนที่นูนต่ำเพื่อนำทางคนตาบอดในศูนย์ส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการภาคตะวันออกเฉียงเหนือ มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาและประเมินผลการใช้งานหุ่นจำลองแผนที่นูนต่ำที่ผลิตจากเครื่องพิมพ์วัตถุ 3 มิติ เพื่อใช้ช่วยนำทางคนตาบอดในการเข้าถึงอาคารต่างๆ ในบริเวณศูนย์ส่งเสริมฯ โดยไม่มีผู้ช่วยนำทาง มีวิธีการวิจัยเชิงคุณภาพด้วยการสังเกตการณ์ แบบสอบถามและการสัมภาษณ์ มีกลุ่มตัวอย่างจำนวน 14 คน แบ่งเป็นคนตาบอดตั้งแต่กำเนิดและตาบอดภายหลังที่เคยอยู่และไม่เคยอยู่ในศูนย์ส่งเสริมฯ มาก่อน โดยให้อาสาสมัครสัมผัสหุ่นจำลองที่มีอาคารและผังบริเวณ ขนาดใหญ่พกพาไม่ได้มีมาตราส่วน 1 : 200 และขนาดพกพาได้มีมาตราส่วน 1 : 400 และ 1 : 750 ผลการศึกษาพบว่า กลุ่มตัวอย่างสามารถเข้าใจลักษณะของผังบริเวณด้วยการสัมผัสหุ่นจำลอง สามารถจัดวางหุ่นจำลองไปในทิศทางเดียวกันกับบริบทของศูนย์ส่งเสริมฯ ได้ โดยอ้างอิงจากสภาพแวดล้อมของเสียงที่ได้ยินและอุณหภูมิจากแสงแดด ใช้ประสบการณ์ประกอบกับทักษะของวิชาความคุ้นเคยสภาพแวดล้อมและการเคลื่อนไหว โดยกลุ่มตัวอย่างที่ไม่เคยอยู่ศูนย์ส่งเสริมฯ มาก่อนต้องใช้เวลาในการทำความเข้าใจและจดจำตำแหน่งที่สำคัญเพื่อนำทางตนเองไปยังสถานที่ต่างๆ ได้อย่างปลอดภัยโดยไม่จำเป็นต้องมีผู้ช่วยนำทาง ส่วนกลุ่มตัวอย่างที่เคยอยู่ศูนย์ส่งเสริมฯ มาก่อนเข้าใจได้ง่ายและใช้เวลาน้อยกว่า กลุ่มตัวอย่างทุกคนสามารถรับรู้เรื่องขนาดและสัดส่วนของหุ่นจำลองที่ถูกย่อส่วนจากขนาดจริงได้ การสร้างหุ่นจำลองแผนที่นูนต่ำควรมีการดัดแปลงรูปทรงของอาคารและพื้นที่บางส่วนเพื่อให้มีส่วนสัมผัสที่ปลอดภัยและเน้นเฉพาะส่วนที่สำคัญ มีการติดป้ายชื่อหรือคำอธิบายด้วยอักษรเบรลล์ ควรส่งเสริมให้มีการออกแบบและจัดทำหุ่นจำลองแผนที่สำหรับคนตาบอดในพื้นที่สาธารณะ
求助全文
通过发布文献求助,成功后即可免费获取论文全文。 去求助
来源期刊
自引率
0.00%
发文量
0
×
引用
GB/T 7714-2015
复制
MLA
复制
APA
复制
导出至
BibTeX EndNote RefMan NoteFirst NoteExpress
×
提示
您的信息不完整,为了账户安全,请先补充。
现在去补充
×
提示
您因"违规操作"
具体请查看互助需知
我知道了
×
提示
确定
请完成安全验证×
copy
已复制链接
快去分享给好友吧!
我知道了
右上角分享
点击右上角分享
0
联系我们:info@booksci.cn Book学术提供免费学术资源搜索服务,方便国内外学者检索中英文文献。致力于提供最便捷和优质的服务体验。 Copyright © 2023 布克学术 All rights reserved.
京ICP备2023020795号-1
ghs 京公网安备 11010802042870号
Book学术文献互助
Book学术文献互助群
群 号:604180095
Book学术官方微信