{"title":"对步行能力的分析与轨道交通系统周围空间的发展概念","authors":"อภิญญา ผาดอน, ภาวิณี เอี่ยมตระกูล","doi":"10.56261/jars.v19i2.243374","DOIUrl":null,"url":null,"abstract":"งานวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัจจัยที่ใช้ในการประเมินความสามารถในการเดินเท้าและเพื่อวิเคราะห์ความสามารถในการเดินเท้าบริเวณพื้นที่สถานีตัวอย่าง 4 สถานี คือสถานีสวนจตุจักร สถานีพหลโยธิน สถานีศูนย์วัฒนธรรมและสถานีสวนจตุจักร โดยวิเคราะห์ความสามารถในการเดินเท้าจากเกณฑ์ 3Cs ซึ่งประยุกต์มาจากแนวคิด TOD ประกอบด้วย การเชื่อมต่อ (Connectivity) ความสะดวก (Convenience) และความสบาย (Comfort) ซึ่งแต่ละปัจจัยจะประกอบด้วยปัจจัยย่อยอีก 4 ปัจจัย โดยนำค่าคะแนนแต่ละปัจจัยมาทำการวิเคราะห์การซ้อนทับของข้อมูล (Overlay Analysis) โดยแสดงผลในรูปแบบดัชนีความสามารถในการเดินเท้า (Walkability Index) ตามค่าความสามารถการเดินเท้าในเขตเมือง ผลการศึกษาพบว่าสถานีศูนย์วัฒนธรรมมีค่าความสามารถในการเดินเท้าต่ำที่สุด คือ 50.68 แสดงถึงเข้าถึงด้วยการเดินได้ปานกลาง เป็นสถานีที่ยังต้องได้รับการปรับปรุงพื้นที่เพื่อให้เกิดการเดินเท้าในพื้นที่ ส่วนสถานีพหลโยธิน สถานีสวนจตุจักร และสถานีสยาม มีค่าความสามารถการเดินเท้าสูงอยู่ในช่วงคะแนน 66-100 แสดงถึงเข้าถึงด้วยการเดินได้ดี แต่เมื่อสำรวจพื้นที่กลับพบว่าพื้นที่ทางเดินเท้ายังมีจุดที่ชำรุด ซึ่งจำเป็นต้องได้รับการพัฒนาและแก้ไข เพื่อให้เกิดการส่งเสริมพื้นการเดินเท้าในพื้นที่ให้เกิดการพัฒนาพื้นที่อย่างยั่งยืน","PeriodicalId":428713,"journal":{"name":"Journal of Architectural/Planning Research and Studies (JARS)","volume":"104 1","pages":"0"},"PeriodicalIF":0.0000,"publicationDate":"2022-01-28","publicationTypes":"Journal Article","fieldsOfStudy":null,"isOpenAccess":false,"openAccessPdf":"","citationCount":"0","resultStr":"{\"title\":\"การวิเคราะห์ความสามารถในการเดินเท้าด้วยแนวคิด การพัฒนาพื้นที่รอบสถานีขนส่งมวลชนระบบราง\",\"authors\":\"อภิญญา ผาดอน, ภาวิณี เอี่ยมตระกูล\",\"doi\":\"10.56261/jars.v19i2.243374\",\"DOIUrl\":null,\"url\":null,\"abstract\":\"งานวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัจจัยที่ใช้ในการประเมินความสามารถในการเดินเท้าและเพื่อวิเคราะห์ความสามารถในการเดินเท้าบริเวณพื้นที่สถานีตัวอย่าง 4 สถานี คือสถานีสวนจตุจักร สถานีพหลโยธิน สถานีศูนย์วัฒนธรรมและสถานีสวนจตุจักร โดยวิเคราะห์ความสามารถในการเดินเท้าจากเกณฑ์ 3Cs ซึ่งประยุกต์มาจากแนวคิด TOD ประกอบด้วย การเชื่อมต่อ (Connectivity) ความสะดวก (Convenience) และความสบาย (Comfort) ซึ่งแต่ละปัจจัยจะประกอบด้วยปัจจัยย่อยอีก 4 ปัจจัย โดยนำค่าคะแนนแต่ละปัจจัยมาทำการวิเคราะห์การซ้อนทับของข้อมูล (Overlay Analysis) โดยแสดงผลในรูปแบบดัชนีความสามารถในการเดินเท้า (Walkability Index) ตามค่าความสามารถการเดินเท้าในเขตเมือง ผลการศึกษาพบว่าสถานีศูนย์วัฒนธรรมมีค่าความสามารถในการเดินเท้าต่ำที่สุด คือ 50.68 แสดงถึงเข้าถึงด้วยการเดินได้ปานกลาง เป็นสถานีที่ยังต้องได้รับการปรับปรุงพื้นที่เพื่อให้เกิดการเดินเท้าในพื้นที่ ส่วนสถานีพหลโยธิน สถานีสวนจตุจักร และสถานีสยาม มีค่าความสามารถการเดินเท้าสูงอยู่ในช่วงคะแนน 66-100 แสดงถึงเข้าถึงด้วยการเดินได้ดี แต่เมื่อสำรวจพื้นที่กลับพบว่าพื้นที่ทางเดินเท้ายังมีจุดที่ชำรุด ซึ่งจำเป็นต้องได้รับการพัฒนาและแก้ไข เพื่อให้เกิดการส่งเสริมพื้นการเดินเท้าในพื้นที่ให้เกิดการพัฒนาพื้นที่อย่างยั่งยืน\",\"PeriodicalId\":428713,\"journal\":{\"name\":\"Journal of Architectural/Planning Research and Studies (JARS)\",\"volume\":\"104 1\",\"pages\":\"0\"},\"PeriodicalIF\":0.0000,\"publicationDate\":\"2022-01-28\",\"publicationTypes\":\"Journal Article\",\"fieldsOfStudy\":null,\"isOpenAccess\":false,\"openAccessPdf\":\"\",\"citationCount\":\"0\",\"resultStr\":null,\"platform\":\"Semanticscholar\",\"paperid\":null,\"PeriodicalName\":\"Journal of Architectural/Planning Research and Studies (JARS)\",\"FirstCategoryId\":\"1085\",\"ListUrlMain\":\"https://doi.org/10.56261/jars.v19i2.243374\",\"RegionNum\":0,\"RegionCategory\":null,\"ArticlePicture\":[],\"TitleCN\":null,\"AbstractTextCN\":null,\"PMCID\":null,\"EPubDate\":\"\",\"PubModel\":\"\",\"JCR\":\"\",\"JCRName\":\"\",\"Score\":null,\"Total\":0}","platform":"Semanticscholar","paperid":null,"PeriodicalName":"Journal of Architectural/Planning Research and Studies (JARS)","FirstCategoryId":"1085","ListUrlMain":"https://doi.org/10.56261/jars.v19i2.243374","RegionNum":0,"RegionCategory":null,"ArticlePicture":[],"TitleCN":null,"AbstractTextCN":null,"PMCID":null,"EPubDate":"","PubModel":"","JCR":"","JCRName":"","Score":null,"Total":0}
引用次数: 0