A Key to Species of the Scorpionflies of Thailand with the Description of New Species of Panorpa and Neopanorpa (Mecoptera: Panorpidae) Based on Morphology and DNA Barcodes
W. Bicha, N. Schiff, Aaron Lancaster, P. Suttiprapan, Theerapan Dokjan, Brian Scheffler
{"title":"A Key to Species of the Scorpionflies of Thailand with the Description of New Species of Panorpa and Neopanorpa (Mecoptera: Panorpidae) Based on Morphology and DNA Barcodes","authors":"W. Bicha, N. Schiff, Aaron Lancaster, P. Suttiprapan, Theerapan Dokjan, Brian Scheffler","doi":"10.3157/061.148.0202","DOIUrl":null,"url":null,"abstract":"ABSTRACT The first Panorpa was recently discovered in Thailand even though the genus had not been thought to occur south of the Himalaya. We now add a second new species, Panorpa apscisacera n. sp., also from Northern Thailand, which has nearly immaculate pale-yellow wings with only a pronounced stigma. The male has a blunt, vestigial bifid anal horn, and thin, bare ventral parameres. Additionally, we describe Neopanorpa appendicema n. sp. with mesad-curled male hypovalve apices and large, basomesal lobes, a relatively large species, N. inchoata n. sp., with overlapping elliptical hypovalves and incomplete apical bands, N. setosiloba n. sp. with huge bristly lobes on the mesal margin of the male gonostyles, and N. mandangensis n. sp. with a narrow 3rd tergum process extending to the posterior margin of the 4th tergum. Neopanorpa nielseni Byers, 1965, previously known from northern Vietnam and southern China, has recently been discovered in northern Thailand. Bittacus leptocaudus Byers, 1965, known from a lone male has been rediscovered and locality details and photo of the habitat provided. These bring the number of species of Mecoptera occurring in Thailand to 22 (19 Neopanorpa, two Panorpa, and one Bittacus) and the number of Mecoptera species known from Indochina to 56 (48 Neopanorpa, three Panorpa, 4 Bittacus, and one Bicaubittacus). A key to the species of Mecoptera in Thailand with illustrations is provided. DNA was extracted from specimens and the DNA Barcode, mitochondrial cytochrome oxidase I (COI) gene fragment sequenced and analyzed for 19 of the 22 species of Thai Mecoptera. The results are figured as a Neighbor-Joining tree. บทคัดย่อ แมลงแมงป่องสกุล Panorpa ไม่เคยมีรายงานจากทางตอนใต้ของเทือกเขาฮิมาลายา (Himalaya) มาก่อน จนกระทั่งในปี พ.ศ. 2562 แมลงแมงป่องสกุลนี้ได้ถูกรายงานเป็นครั้งแรกในประเทศไทย งานวิจัยนี้ได้ค้นพบ แมลงแมงป่องชนิดใหม่ Panorpa apscisacera n. sp. จากภาคเหนือและเป็นชนิดที่สองของประเทศไทย ลักษณะ เด่นของปีกสีเหลืองอ่อนเกือบทั่วปีก มีตาปีก (stigma) ชัดเจน anal horn ในเพศผู้สั้นและแยกเป็นสองแฉกแต่ ไม่ชัดเจน ventral paramere บางและไม่มีขนปกคลุม นอกจากนี้ยังค้นพบแมลงแมงป่องในสกุล Neopanorpa 4 ชนิดใหม่ ได้แก่ ชนิด N. appendicema n. sp. เป็นชนิดที่มีขนาดค่อนข้างใหญ่ ส่วนกลางของ hypovalve ม้วนขด และ basomesal lobe ขนาดใหญ่ ชนิด N. inchoata n. sp. มี hypovalve รูปร่างยาวและวางซ้อนทับ กัน แถบสีที่ปลายปีกไม่สมบูรณ์ ชนิด N. setosiloba n. sp. ในเพศผู้มี bristly lobes ขนาดใหญ่ที่ gonostyles และชนิด N. mandangensis n. sp. ด้านบนของท้องปล้องที่สามมี notal organ เรียวและยื่นยาวไปถึงส่วนท้าย ของปล้องที่สี่ แมลงแมงป่องชนิด N. nielseni Byers, 1965 ถูกค้นพบเป็นครั้งแรกในประเทศไทยจากภาคเหนือ ซึ่งเคยมีรายงานจากภาคเหนือของประเทศเวียดนามและทางตอนใต้ของประเทศจีน และได้มีการค้นพบชนิด Bittacus leptocaudus Byers, 1965 อีกครั้งจากที่เคยรายงานเพศผู้เพียงหนึ่งตัว มีการเพิ่มเติมข้อมูลของพื้นที่ เก็บตัวอย่างและภาพถ่ายในธรรมชาติ การรายงานนี้ทําาให้จําานวนชนิดของแมลงแมงป่องในประเทศไทยเพิ่ม ขึ้นเป็น 22 ชนิด ใน 3 สกุล ได้แก่ สกุล Neopanorpa จําานวน 19 ชนิด สกุล Panorpa จําานวน 2 ชนิด และสกุล Bittacus จําานวน 1 ชนิด และทําาให้ในภูมิภาคอินโดจีน (Indochina) มีจําานวนชนิดเพิ่มขึ้นเป็น 56 ชนิด (สกุล Neopanorpa 48 ชนิด, Panorpa 3 ชนิด, Bittacus 4 ชนิด, และ Bicaubittacus 1 ชนิด) ทั้งนี้ยังได้จัดทําารูปวิธาน และรูปภาพประกอบการระบุชนิดของแมลงแมงป่องในประเทศไทย ทําาการวิเคราะห์ลําาดับยีนของไมโตคอนเด รียในส่ วนของ cytochrome oxidase I (COI) ของแมลงแมงป่ องจ าานวน 19 ชนิด จาก 22 ชนิดของประเทศไทย และรายงานผลโดยใช้ Neighbor Joining tree.","PeriodicalId":51200,"journal":{"name":"Transactions of the American Entomological Society","volume":"1 1","pages":"201 - 228"},"PeriodicalIF":0.4000,"publicationDate":"2022-08-15","publicationTypes":"Journal Article","fieldsOfStudy":null,"isOpenAccess":false,"openAccessPdf":"","citationCount":"0","resultStr":null,"platform":"Semanticscholar","paperid":null,"PeriodicalName":"Transactions of the American Entomological Society","FirstCategoryId":"97","ListUrlMain":"https://doi.org/10.3157/061.148.0202","RegionNum":4,"RegionCategory":"农林科学","ArticlePicture":[],"TitleCN":null,"AbstractTextCN":null,"PMCID":null,"EPubDate":"","PubModel":"","JCR":"Q4","JCRName":"ENTOMOLOGY","Score":null,"Total":0}
引用次数: 0
Abstract
ABSTRACT The first Panorpa was recently discovered in Thailand even though the genus had not been thought to occur south of the Himalaya. We now add a second new species, Panorpa apscisacera n. sp., also from Northern Thailand, which has nearly immaculate pale-yellow wings with only a pronounced stigma. The male has a blunt, vestigial bifid anal horn, and thin, bare ventral parameres. Additionally, we describe Neopanorpa appendicema n. sp. with mesad-curled male hypovalve apices and large, basomesal lobes, a relatively large species, N. inchoata n. sp., with overlapping elliptical hypovalves and incomplete apical bands, N. setosiloba n. sp. with huge bristly lobes on the mesal margin of the male gonostyles, and N. mandangensis n. sp. with a narrow 3rd tergum process extending to the posterior margin of the 4th tergum. Neopanorpa nielseni Byers, 1965, previously known from northern Vietnam and southern China, has recently been discovered in northern Thailand. Bittacus leptocaudus Byers, 1965, known from a lone male has been rediscovered and locality details and photo of the habitat provided. These bring the number of species of Mecoptera occurring in Thailand to 22 (19 Neopanorpa, two Panorpa, and one Bittacus) and the number of Mecoptera species known from Indochina to 56 (48 Neopanorpa, three Panorpa, 4 Bittacus, and one Bicaubittacus). A key to the species of Mecoptera in Thailand with illustrations is provided. DNA was extracted from specimens and the DNA Barcode, mitochondrial cytochrome oxidase I (COI) gene fragment sequenced and analyzed for 19 of the 22 species of Thai Mecoptera. The results are figured as a Neighbor-Joining tree. บทคัดย่อ แมลงแมงป่องสกุล Panorpa ไม่เคยมีรายงานจากทางตอนใต้ของเทือกเขาฮิมาลายา (Himalaya) มาก่อน จนกระทั่งในปี พ.ศ. 2562 แมลงแมงป่องสกุลนี้ได้ถูกรายงานเป็นครั้งแรกในประเทศไทย งานวิจัยนี้ได้ค้นพบ แมลงแมงป่องชนิดใหม่ Panorpa apscisacera n. sp. จากภาคเหนือและเป็นชนิดที่สองของประเทศไทย ลักษณะ เด่นของปีกสีเหลืองอ่อนเกือบทั่วปีก มีตาปีก (stigma) ชัดเจน anal horn ในเพศผู้สั้นและแยกเป็นสองแฉกแต่ ไม่ชัดเจน ventral paramere บางและไม่มีขนปกคลุม นอกจากนี้ยังค้นพบแมลงแมงป่องในสกุล Neopanorpa 4 ชนิดใหม่ ได้แก่ ชนิด N. appendicema n. sp. เป็นชนิดที่มีขนาดค่อนข้างใหญ่ ส่วนกลางของ hypovalve ม้วนขด และ basomesal lobe ขนาดใหญ่ ชนิด N. inchoata n. sp. มี hypovalve รูปร่างยาวและวางซ้อนทับ กัน แถบสีที่ปลายปีกไม่สมบูรณ์ ชนิด N. setosiloba n. sp. ในเพศผู้มี bristly lobes ขนาดใหญ่ที่ gonostyles และชนิด N. mandangensis n. sp. ด้านบนของท้องปล้องที่สามมี notal organ เรียวและยื่นยาวไปถึงส่วนท้าย ของปล้องที่สี่ แมลงแมงป่องชนิด N. nielseni Byers, 1965 ถูกค้นพบเป็นครั้งแรกในประเทศไทยจากภาคเหนือ ซึ่งเคยมีรายงานจากภาคเหนือของประเทศเวียดนามและทางตอนใต้ของประเทศจีน และได้มีการค้นพบชนิด Bittacus leptocaudus Byers, 1965 อีกครั้งจากที่เคยรายงานเพศผู้เพียงหนึ่งตัว มีการเพิ่มเติมข้อมูลของพื้นที่ เก็บตัวอย่างและภาพถ่ายในธรรมชาติ การรายงานนี้ทําาให้จําานวนชนิดของแมลงแมงป่องในประเทศไทยเพิ่ม ขึ้นเป็น 22 ชนิด ใน 3 สกุล ได้แก่ สกุล Neopanorpa จําานวน 19 ชนิด สกุล Panorpa จําานวน 2 ชนิด และสกุล Bittacus จําานวน 1 ชนิด และทําาให้ในภูมิภาคอินโดจีน (Indochina) มีจําานวนชนิดเพิ่มขึ้นเป็น 56 ชนิด (สกุล Neopanorpa 48 ชนิด, Panorpa 3 ชนิด, Bittacus 4 ชนิด, และ Bicaubittacus 1 ชนิด) ทั้งนี้ยังได้จัดทําารูปวิธาน และรูปภาพประกอบการระบุชนิดของแมลงแมงป่องในประเทศไทย ทําาการวิเคราะห์ลําาดับยีนของไมโตคอนเด รียในส่ วนของ cytochrome oxidase I (COI) ของแมลงแมงป่ องจ าานวน 19 ชนิด จาก 22 ชนิดของประเทศไทย และรายงานผลโดยใช้ Neighbor Joining tree.
第一个全景龙属最近在泰国被发现,尽管该属从未被认为出现在喜马拉雅以南。我们现在增加了第二个新物种,Panorpa apscisacera n. sp,也来自泰国北部,它有几乎无染的淡黄色翅膀,只有一个明显的柱头。雄性有钝的,退化的两裂肛角,和薄的,裸露的腹部参数。此外,我们还描述了Neopanorpa appendicema n. sp.,其雄性下瓣顶端有卷曲的信息和大的基部裂片;一个相对较大的物种,n. inchoata n. sp.,具有重叠的椭圆形下瓣和不完整的顶端带;n. setosiloba n. sp.,雄性淋柱的边缘有巨大的刚毛状裂片;n. mandangensis n. sp.,具有狭窄的第三三叶突延伸到第四三叶的后缘。Neopanorpa nielseni Byers, 1965,以前在越南北部和中国南部被发现,最近在泰国北部被发现。Bittacus leptocaudus Byers, 1965年,从一只孤独的雄性中被发现,并提供了栖息地的详细信息和照片。提供了泰国甲翅目昆虫的种表并附有插图。对22种泰国甲翅目昆虫中19种标本进行DNA提取,并对DNA条形码、线粒体细胞色素氧化酶I (COI)基因片段进行测序和分析。结果被表示为邻居加入树。บทคัดย่อแมลงแมงป่องสกุลPanorpaไม่เคยมีรายงานจากทางตอนใต้ของเทือกเขาฮิมาลายา(喜马拉雅)มาก่อนจนกระทั่งในปีพศ。2562年แมลงแมงป่องสกุลนี้ได้ถูกรายงานเป็นครั้งแรกในประเทศไทยงานวิจัยนี้ได้ค้นพบแมลงแมงป่องชนิดใหม่Panorpa apscisacera n . sp。จากภาคเหนือและเป็นชนิดที่สองของประเทศไทยลักษณะเด่นของปีกสีเหลืองอ่อนเกือบทั่วปีกมีตาปีก(歧视)ชัดเจน肛门角ในเพศผู้สั้นและแยกเป็นสองแฉกแต่ไม่ชัดเจน腹paramereบางและไม่มีขนปกคลุมนอกจากนี้ยังค้นพบแมลงแมงป่องในสกุลNeopanorpa 4ชนิดใหม่ได้แก่ชนิดn appendicema n . sp。เป็นชนิดที่มีขนาดค่อนข้างใหญ่ส่วนกลางของhypovalveม้วนขดและbasomesal叶ขนาดใหญ่ชนิดn inchoata n . sp。มีhypovalveรูปร่างยาวและวางซ้อนทับกันแถบสีที่ปลายปีกไม่สมบูรณ์ชนิดn setosiloba n . sp。ในเพศผู้มี易怒的叶ขนาดใหญ่ที่gonostylesและชนิดn mandangensis n . sp。ด้านบนของท้องปล้องที่สามมีnotal器官เรียวและยื่นยาวไปถึงส่วนท้ายของปล้องที่สี่แมลงแมงป่องชนิดn nielseni拜尔斯,1965ถูกค้นพบเป็นครั้งแรกในประเทศไทยจากภาคเหนือซึ่งเคยมีรายงานจากภาคเหนือของประเทศเวียดนามและทางตอนใต้ของประเทศจีนและได้มีการค้นพบชนิดBittacus leptocaudus拜尔斯,และBicaubittacus 1ชนิด)ทั้งนี้ยังได้จัดทําารูปวิธานและรูปภาพประกอบการระบุชนิดของแมลงแมงป่องในประเทศไทยทําาการวิเคราะห์ลําาดับยีนของไมโตคอนเดรียในส่วนของ我细胞色素氧化酶(COI)ของแมลงแมงป่องจาานวน19ชนิดจาก22ชนิดของประเทศไทยและรายงานผลโดยใช้邻居加入树。
期刊介绍:
Contributions are accepted on any of the aspects of systematics and taxonomy of insects. This includes: taxonomic revisions, phylogenetics, biogeography and faunistics, and descriptive morphology of insects. Taxonomic papers describing single species are acceptable if such a study is sufficiently justified, however, comprehensive studies that provide a comparative, integrated study of insect systematics and taxonomy will get priority.