{"title":"No Notation Needed: The Construction and Politics of Transnational Thai Identity through the Oral Transmission of Classical Music","authors":"Nattapol Wisuttipat","doi":"10.1353/amu.2020.0018","DOIUrl":null,"url":null,"abstract":"Abstract:Cultural classes such as Thai classical music and dance are integral to almost every Thai community in the United States. These expressive cultures are taught and learned traditionally by rote, albeit with some modifications, in Thai Buddhist temples as a symbol of Thainess or khwaampenthai. But how exactly does learning musical performance lead to such cultural belonging? In this article I examine Thai classical music pedagogy outside its home context, particularly in the United States, by arguing that oral transmission and rote learning are key to transmitting ideas about cultural identity. I also critically investigate which version of khwaampenthai is being constructed through this mode of cultural production. My central argument is that the cultural knowledge embedded in musical practice allows Thai Americans to confirm their association with their homeland outside the geocultural bounds of the nation-state.Abstract:การเรียนการสอนวัฒนธรรมไทยโดยเฉพาะดนตรีและนาฏศิลป์ไทยเป็นหนึ่งในกิจกรรมสำาคัญของชุมชนชาวไทยในประเทศ สหรัฐอเมริกาแทบทุกชุมชน นับได้ว่าศิลปะการแสดงนี้เป็นสัญลักษณ์ที่แสดงถึงความเป็นไทยและได้รับการสืบทอดภายในวัด ไทยโดยมุขปาฐะแม้ว่าจะมีการปรับเปลี่ยนบ้างตามความเหมาะสม การเรียนดนตรีสามารถนำาไปสู่ความมีส่วนร่วมในความเป็น เจ้าของวัฒนธรรมได้อย่างไร บทความนี้ผู้เขียนตรวจสอบบริบทการสืบทอดดนตรีไทยนอกพรมแดนโดยเฉพาะอย่างยิ่งในประเทศ สหรัฐอเมริกาและชี้ให้เห็นว่าการใช้มุขปาฐะเป็นกลวิธีสำาคัญในการส่งต่อแนวคิดเกี่ยวกับอัตลักษณ์ทางวัฒนธรรม นอกจากนี้ผู้ เขียนได้พิจารณาและถกประเด็นถึงลักษณะของความเป็นไทยที่ถูกสร้างขึ้นจากกระบวนการการผลิตทางวัฒนธรรมดังกล่าว ข้อ เสนอหลักของผู้เขียนคือองค์ความรู้ทางวัฒนธรรมที่แฝงอยู่ในวิธีปฏิบัติของดนตรีไทยและนาฏศิลป์ไทยช่วยยืนยันความสัมพันธ์ของ ชาวไทยในประเทศสหรัฐอเมริกากับดินแดนบ้านเกิดนอกเหนือจากข้อจำากัดขอบเขตทางภูมิวัฒนธรรมภายใต้แนวคิดเรื่องรัฐชาติ","PeriodicalId":43622,"journal":{"name":"ASIAN MUSIC","volume":"51 1","pages":"38 - 5"},"PeriodicalIF":0.2000,"publicationDate":"2020-06-23","publicationTypes":"Journal Article","fieldsOfStudy":null,"isOpenAccess":false,"openAccessPdf":"https://sci-hub-pdf.com/10.1353/amu.2020.0018","citationCount":"0","resultStr":null,"platform":"Semanticscholar","paperid":null,"PeriodicalName":"ASIAN MUSIC","FirstCategoryId":"1085","ListUrlMain":"https://doi.org/10.1353/amu.2020.0018","RegionNum":2,"RegionCategory":"艺术学","ArticlePicture":[],"TitleCN":null,"AbstractTextCN":null,"PMCID":null,"EPubDate":"","PubModel":"","JCR":"0","JCRName":"ASIAN STUDIES","Score":null,"Total":0}
引用次数: 0
Abstract
Abstract:Cultural classes such as Thai classical music and dance are integral to almost every Thai community in the United States. These expressive cultures are taught and learned traditionally by rote, albeit with some modifications, in Thai Buddhist temples as a symbol of Thainess or khwaampenthai. But how exactly does learning musical performance lead to such cultural belonging? In this article I examine Thai classical music pedagogy outside its home context, particularly in the United States, by arguing that oral transmission and rote learning are key to transmitting ideas about cultural identity. I also critically investigate which version of khwaampenthai is being constructed through this mode of cultural production. My central argument is that the cultural knowledge embedded in musical practice allows Thai Americans to confirm their association with their homeland outside the geocultural bounds of the nation-state.Abstract:การเรียนการสอนวัฒนธรรมไทยโดยเฉพาะดนตรีและนาฏศิลป์ไทยเป็นหนึ่งในกิจกรรมสำาคัญของชุมชนชาวไทยในประเทศ สหรัฐอเมริกาแทบทุกชุมชน นับได้ว่าศิลปะการแสดงนี้เป็นสัญลักษณ์ที่แสดงถึงความเป็นไทยและได้รับการสืบทอดภายในวัด ไทยโดยมุขปาฐะแม้ว่าจะมีการปรับเปลี่ยนบ้างตามความเหมาะสม การเรียนดนตรีสามารถนำาไปสู่ความมีส่วนร่วมในความเป็น เจ้าของวัฒนธรรมได้อย่างไร บทความนี้ผู้เขียนตรวจสอบบริบทการสืบทอดดนตรีไทยนอกพรมแดนโดยเฉพาะอย่างยิ่งในประเทศ สหรัฐอเมริกาและชี้ให้เห็นว่าการใช้มุขปาฐะเป็นกลวิธีสำาคัญในการส่งต่อแนวคิดเกี่ยวกับอัตลักษณ์ทางวัฒนธรรม นอกจากนี้ผู้ เขียนได้พิจารณาและถกประเด็นถึงลักษณะของความเป็นไทยที่ถูกสร้างขึ้นจากกระบวนการการผลิตทางวัฒนธรรมดังกล่าว ข้อ เสนอหลักของผู้เขียนคือองค์ความรู้ทางวัฒนธรรมที่แฝงอยู่ในวิธีปฏิบัติของดนตรีไทยและนาฏศิลป์ไทยช่วยยืนยันความสัมพันธ์ของ ชาวไทยในประเทศสหรัฐอเมริกากับดินแดนบ้านเกิดนอกเหนือจากข้อจำากัดขอบเขตทางภูมิวัฒนธรรมภายใต้แนวคิดเรื่องรัฐชาติ