{"title":"แบบภาวะผู้นำของผู้บริหารสถานศึกษาและบรรยากาศองค์การในสถานศึกษาที่ส่งผลต่อความสุขในการทำงานของครู","authors":"จันทประภา ปะกายะ, ทวีศิลป์ กุลนภาดล","doi":"10.60027/iarj.2024.276855","DOIUrl":null,"url":null,"abstract":"ภูมิหลังและวัตถุประสงค์: โรงเรียนเป็นองค์กรที่จัดตั้งขึ้นเพื่อการจัดการศึกษาและส่งเสริมการเรียนรู้แก่ผู้เรียน โดยมุ่งหวังให้บุคลากรทำงานอย่างมีความสุข ภาวะผู้นำของผู้บริหารสถานศึกษาและบรรยากาศองค์องค์การในสถานศึกษาจึงมีส่วนสำคัญในการเสริมความสุขในองค์การสถานศึกษา การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เพื่อศึกษาระดับแบบภาวะผู้นำของผู้บริหารสถานศึกษา บรรยากาศองค์การในสถานศึกษา และความสุขในการทำงานของครู 2) เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างแบบภาวะผู้นำของผู้บริหารสถานศึกษาและบรรยากาศองค์การในสถานศึกษากับความสุขในการทำงานของครู 3) เพื่อศึกษาแบบภาวะผู้นำของผู้บริหารสถานศึกษาและบรรยากาศองค์การในสถานศึกษาที่ส่งผลต่อความสุขในการทำงานของครู\nระเบียบวิธีการวิจัย: ครูในโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตดอนเมือง กรุงเทพมหานคร ปีการศึกษา 2566 จำนวน 191 คน โดยได้จากการเปิดตารางสำเร็จรูปเครจซี่และมอร์แกน (Krejcie & Morgan, 1970) โดยใช้การสุ่มแบบแบ่งชั้น (Stratified Random Sampling) โดยใช้ขนาดโรงเรียนเป็นระดับชั้น (Strata) แล้ววิธีจับสลากจำนวนครูตามสัดส่วนของโรงเรียน สถิติที่ใช้ในการวิจัยได้แก่ ค่าเฉลี่ย ค่าร้อยละ ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน สัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์แบบเพียร์สันและการถดถอยพหุคูณแบบวิธีการนำตัวแปรเข้าทั้งหมด\nผลการวิจัย: 1) ระดับแบบภาวะผู้นำของผู้บริหารสถานศึกษา โดยรวมอยู่ในระดับมาก ระดับบรรยากาศองค์การในสถานศึกษา โดยรวมอยู่ในระดับมาก และระดับความสุขในการทำงานของครู โดยรวมอยู่ในระดับมาก 2) แบบภาวะผู้นำของผู้บริหารสถานศึกษาและบรรยากาศองค์การในสถานศึกษามีความสัมพันธ์กับความสุขในการทำงานของครู ในภาพรวมพบว่า ตัวแปรทั้งหมดมีค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ (r) ระหว่าง -.087 ถึง .635 3) แบบภาวะผู้นำของผู้บริหารสถานศึกษาและบรรยากาศองค์การในสถานศึกษาร่วมกันพยากรณ์ตัวแปรความสุขในการทำงานของครู ได้ร้อยละ 37.30 (R2 = .373)\nสรุปผล : ผลวิจัยสรุปว่า ระดับแบบภาวะผู้นำของผู้บริหารสถานศึกษา ระดับบรรยากาศองค์การในสถานศึกษา และระดับความสุขในการทำงานของครู โดยรวมอยู่ในระดับมาก โดยภาวะผู้นำของผู้บริหารสถานศึกษาและบรรยากาศองค์การในสถานศึกษามีความสัมพันธ์กับความสุขในการทำงานของครู และแบบภาวะผู้นำของผู้บริหารสถานศึกษาและบรรยากาศองค์การในสถานศึกษาร่วมกันพยากรณ์ตัวแปรความสุขในการทำงานของครูอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .001","PeriodicalId":505621,"journal":{"name":"Interdisciplinary Academic and Research Journal","volume":"5 3","pages":""},"PeriodicalIF":0.0000,"publicationDate":"2024-07-22","publicationTypes":"Journal Article","fieldsOfStudy":null,"isOpenAccess":false,"openAccessPdf":"","citationCount":"0","resultStr":null,"platform":"Semanticscholar","paperid":null,"PeriodicalName":"Interdisciplinary Academic and Research Journal","FirstCategoryId":"1085","ListUrlMain":"https://doi.org/10.60027/iarj.2024.276855","RegionNum":0,"RegionCategory":null,"ArticlePicture":[],"TitleCN":null,"AbstractTextCN":null,"PMCID":null,"EPubDate":"","PubModel":"","JCR":"","JCRName":"","Score":null,"Total":0}
引用次数: 0
แบบภาวะผู้นำของผู้บริหารสถานศึกษาและบรรยากาศองค์การในสถานศึกษาที่ส่งผลต่อความสุขในการทำงานของครู
ภูมิหลังและวัตถุประสงค์:โรงเรียนเป็นองค์กรที่จัดตั้งข้นเพื่อการจักดารศึกษาและส่งเสิมารเรียนร้แก่ผู้เรียน โดยม่งหวังให้บุคลากรทำงานอย่างมีความสุการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เพื่อศึกษาระดับแบบภาวะผูน้ำของผู้บริหารสถานศึกษาบรรยากาศองค์การในสถานศึกษา และความสุขในการทำงานของครู 2) เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างแบบภาวะผู้นำของผู้บริหารสถานศึกษาและบรรยากาศองค์การในสถานศึกษากับความสุขในการทำงานของครู3) เพือ่ศึกษาแบบาภวะผู้นำของผู้บริหารสถานศึกษาและบรรยาาศองค์การในสถานศึกษาที่สงผต่อควมสุขในารทียบวิธีการวิจัย:ครูในโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตดอนเมอืง กรงุเทพมหานคร ปีการศึกษา 2566 จำนวน 191 คน โดยได้จาการเปดิตารงสำเร็จรูปเครจซี่และมอร์แกน (Krejcie & Morgan、1970) โดยใช้การสุ่มแบแบ่งชั้น (Stratified Random Sampling) โดยใช้ขนาดโงเรียนเป็นระดับชั้น (Strata) แล้ววิธีจับสลากจำนวนครูตามสัดส่วนของโรงเรียน สถิติที่ใช้ในการวิจัยได้แก่ค่าเฉลี่ย ค่าร้อยละ ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน สัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์แบเพียร์สันและการ↪Lo_E16ด↩ถอยพหุคูณแบวิธีการนำตัวแปรเข้าทั้งหมดผการวิจัย:1) ระดับแบบภาวะผู้นำของผู้บริหารสถานศึกษา โดยรวมอยู่ในระดับมาก ระดับบรยากาศองค์การในสถานศึษา โดยรวมยู่ในระดับมาก และระดับความสุขในการทำงนาของครู โดยรวมอยู่ในระดับมา 2)แบบภาวะผู้นำของผู้บริหารสถานศึกษาและบรรยากาศองค์การในสถานศึกษามีความสัมพันธ์กับความสุขในการทำงานของครู ในภาพรวมพบว่า ตัวแปรทั้งหมดมีค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ (r) ระหว่าง -.087 ถึง .635 3)แบาภวะผู้นำขอขงผู้นนศึกษาและบรรยากาศองค์การในสถานศึกษาร่วมกันพยากรณตั์วแปรความสุขในการทำงานของคยายละ 37.30 (R2 = .373)สรุปผล :ผลวิจัยสรุปว่า ระดับแบภาวะผู้นำของผู้บริหารสถานศึกษา ระดับบรยากาศองค์การในสถานศึกษา แลระดับความสุขในการทงานของครโดยรวมยู่ในระดับมาก โดยภาวะผู้นำของผู้บริหารสถานศึกษาและบรยากาศองค์การในสถานศึกษามีความสัมพันธ์กับความสุขในการทงานของครและแบภาวะผผู้นำของผู้บริหารสถานศึกษาและบรรยากาศงกษาาร่วมกันยากรณต์ัวแปรควาสุขในการทงำนของรูย่างีนัยสำคัญทงสถิติที่ระดบั .001
本文章由计算机程序翻译,如有差异,请以英文原文为准。