{"title":"การพัฒนาทักษะการคิดเชิงบริหาร (EF) ของเด็กปฐมวัยโดยใช้กิจกรรมเสริมประสบการณ์ สื่อสร้างสรรค์จากวัสดุภูมิปัญญาท้องถิ่น","authors":"ทิพย์อักษร พุทธสริน","doi":"10.60027/iarj.2024.276823","DOIUrl":null,"url":null,"abstract":"ภูมิหลังและวัตถุประสงค์: การส่งเสริมรากฐานของการพัฒนาทักษะการคิดเชิงบริหาร (EF) กับเด็กปฐมวัยให้เกิดการพัฒนาศักยภาพในการเจริญเติบโตและเรียนรู้อย่างเหมาะสม โดยมีการซึมซับภูมิปัญญาท้องถิ่นซึ่งเป็นองค์ความรู้ที่เกิดจากการสั่งสมประสบการณ์ที่มีคุณค่าทางวัฒนธรรมให้สืบทอดต่อไป การวิจัยมีวัตถุประสงค์ เพื่อพัฒนาทักษะการคิดเชิงบริหาร (EF) ของเด็กปฐมวัยโดยใช้กิจกรรมเสริมประสบการณ์สื่อสร้างสรรค์จากวัสดุภูมิปัญญาท้องถิ่น\nระเบียบวิธีการวิจัย: ผู้วิจัยได้ใช้แบบแผนการวิจัย One - Group Pretest -Posttest Design กลุ่มตัวอย่างการวิจัย คือ เด็กปฐมวัยโรงเรียนเทศบาล 1 (วิทยานารี) อำเภอเมือง จังหวัดชัยภูมิ ระดับชั้นอนุบาลปีที่ 2 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2566 จำนวน 20 คน ใช้วิธีการสุ่มอย่างง่าย (Simple Random Sampling) เครื่องมือการวิจัย ได้แก่ แผนการจัดกิจกรรมเสริมประสบการณ์สื่อสร้างสรรค์จากวัสดุภูมิปัญญาท้องถิ่น และแบบสังเกตทักษะการคิดเชิงบริหาร (EF) ของเด็กปฐมวัย วิเคราะห์คุณภาพเครื่องมือโดยค่าดัชนีความสอดคล้องระหว่างลักษณะพฤติกรรมกับจุดประสงค์ จากผู้เชี่ยวชาญจำนวน 3 คน ซึ่งได้ค่าดัชนีความสอดคล้อง (IOC) 0.96 และวิเคราะห์ข้อมูลโดยค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และค่า t-test dependent\nผลการวิจัย: กลุ่มทักษะพื้นฐานก่อน/หลังจัดกิจกรรมเสริมประสบการณ์ ระดับปานกลาง/ระดับมากที่สุด กลุ่มทักษะกำกับตัวเองก่อน/หลังจัดกิจกรรมเสริมประสบการณ์ ระดับปานกลาง/ระดับมากที่สุด กลุ่มทักษะปฏิบัติก่อน/หลังจัดกิจกรรมเสริมประสบการณ์ ระดับปานกลาง/ระดับมากที่สุด หลังการจัดกิจกรรมเสริมประสบการณ์ เด็กปฐมวัยมีทักษะการคิดเชิงบริหาร (EF) สูงขึ้นอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05\nสรุปผล: เด็กปฐมวัยที่ได้รับการกิจกรรมเสริมประสบการณ์สื่อสร้างสรรค์จากวัสดุภูมิปัญญาท้องถิ่นมีทักษะการคิดเชิงบริหาร (EF) ที่สูงขึ้น","PeriodicalId":505621,"journal":{"name":"Interdisciplinary Academic and Research Journal","volume":"18 6","pages":""},"PeriodicalIF":0.0000,"publicationDate":"2024-07-22","publicationTypes":"Journal Article","fieldsOfStudy":null,"isOpenAccess":false,"openAccessPdf":"","citationCount":"0","resultStr":null,"platform":"Semanticscholar","paperid":null,"PeriodicalName":"Interdisciplinary Academic and Research Journal","FirstCategoryId":"1085","ListUrlMain":"https://doi.org/10.60027/iarj.2024.276823","RegionNum":0,"RegionCategory":null,"ArticlePicture":[],"TitleCN":null,"AbstractTextCN":null,"PMCID":null,"EPubDate":"","PubModel":"","JCR":"","JCRName":"","Score":null,"Total":0}
引用次数: 0
การพัฒนาทักษะการคิดเชิงบริหาร (EF) ของเด็กปฐมวัยโดยใช้กิจกรรมเสริมประสบการณ์ สื่อสร้างสรรค์จากวัสดุภูมิปัญญาท้องถิ่น
ภูมิหลังและวัตถุประสงค์:การส่งเสิมรากฐานของการพัฒนาทักษะการคิเดดเชิงบริหาร (ef) กับเด็กปฐมวัยให้เกิดการพัฒนาศักยภาพในการเจริญเติบโแตละเรียนรู้ย่างเหมาะสมโดยมีารซึมซับูมิปัญญาท้องถิ่นซึ่งเป็นองค์ความรู้ที่เกิดจาการสังสมประสการณ์ที่มคุ↪LoE13↩ค่าทางวั↪LoE12↩น↪LoE18↩รรม↪LoE43↩ห้สืบทอดต่การวิจัยมีวัตถุประสงค์ เพือพัฒนาทักษะการคิดเชิงบริหาร (ef) ของเด็กปฐมวัยโดยใช้ิกจกรมเสริมประสบการณ์สือสร้างสรค์จากวัสดุภูมิปัญญาท้องถิ่นระเบียบวิธีการวิจัย:ผู้วิจัยได้ใชแบบแผนการวิจัย One - Group Pretest - Posttest Design กลุงัย后测设计 เด็กปฐมวัยโรงเรียนเทศบาล 1 (วิทยานารี) อำเภอเมือง จังหวัดชัยภูมิระดับชั้นอนุบาลปีที่ 2 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2566 จำนวน 20 คน ใช้วิธีการสุ่มอย่างง่าย (Simple Random Sampling) เครื่งอืมอการวิจัย ได้แก่แผนการจัดกิจกรรมเสริมประสบการณ์ส่ือสร้างสรค์จากวัสดุภูมิปัญญาท้องถิ่นและแบบสังกเตทักษะการคิเดชิงบริหาร (ef) ของเด็กปฐมวัยวิเคราะห์คุณภาพเครื่องมือโดยค่าดัชนีความสอดค้องระหวางลักษณะพฤติกรรมกบัจุดประสงค์ จากผู้เชี่ยวชาญจำนวน 3 คน ึ ซ่งได้ค่าดัชนีความสอดค้อง (ioc) 0.96 และวิเคราะห์ข้อมูลโดยค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และค่า t-test dependentผลการวิจัย:กลุ่มทักษะพืนฐานกลุ่มทักษะกำกลุ่มทักษะกำกลุ่มทักษะกำกลุ่มทักษะกำกลุ่มทักษกำกลุ่มทักลุ่มทักลุ่มทักลุ่มที่สุดกลุ่มทักษะปฏิบัติก่อน/หลังจัดกิจกรรมเสริมประสบการณ์ ระดับปานกลาง/ระดับมากที่สุด หลังการจัดกิจกรรมเสริมประสบการณ์ เด็กปฐมวัยมีทักษะการคิดเชิงบริหาร (EF) สูงขึ้นอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05สรุปผล: เด็กปฐมวัยที่ได้รับการกจิกรรมเสริมประสบการณ์สื่อสร้างสรค์จากวัสดุภูมิปัญญาท้องถิ่นมีทัษกะการคิดเชิงบรหาร (EF) ที่สูงขึ้น
本文章由计算机程序翻译,如有差异,请以英文原文为准。