{"title":"ความพร้อมในการจัดการเรียนรู้แบบสะเต็มศึกษา เพื่อพัฒนาผู้เรียนตามกรอบการประเมิน PISA 2025 ของครูสังกัดสำนักงานเขตบางขุนเทียน กรุงเทพมหานคร","authors":"อุลัยวรรณ์ สีอ่อน, จุฑาภรณ์ มาสันเทียะ, ดารุณี ทิพยกุลไพโรจน์","doi":"10.60027/iarj.2024.276485","DOIUrl":null,"url":null,"abstract":"ภูมิหลังและวัตถุประสงค์: การเตรียมความพร้อมของครูผู้สอนในระดับชั้นประถมศึกษาตอนปลายและมัธยมศึกษาตอนต้นเพื่อปรับตัวตามกรอบการประเมิน PISA 2025 เป็นกระบวนการที่สำคัญและน่าสนใจอย่างมาก เพื่อให้ครูมีความพร้อมที่จะสอนและสนับสนุนการเรียนรู้ของนักเรียนในโลกดิจิทัล การวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาความพร้อมของครูสังกัดสำนักงานเขตบางขุนเทียน กรุงเทพมหานคร ในการจัดการเรียนรู้แบบสะเต็มศึกษา ตามกรอบการประเมิน PISA 2025 และ (2) เปรียบเทียบความพร้อมของครูสังกัดสำนักงานเขตบางขุนเทียน กรุงเทพมหานคร ในการจัดการเรียนรู้แบบสะเต็มศึกษา ตามกรอบการประเมิน PISA 2025 ระหว่างครูที่มีวิชาที่สอนแตกต่างกัน\nระเบียบวิธีการวิจัย: ประชากร คือ ครูที่สอนวิชาวิทยาศาสตร์ วิชาคณิตศาสตร์ และวิชาคอมพิวเตอร์ ระดับชั้นประถมศึกษาตอนปลาย และมัธยมศึกษาตอนต้น ในโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตบางขุนเทียน กรุงเทพมหานคร จำนวน 100 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบสอบถาม ที่มีค่าความเชื่อมั่นเท่ากับ 0.963 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ประกอบด้วยสถิติบรรยาย ได้แก่ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน\nผลการศึกษา: (1) ในภาพรวมครูสังกัดสำนักงานเขตบางขุนเทียน กรุงเทพมหานคร มีความพร้อมในการจัดการเรียนรู้แบบสะเต็มศึกษา ตามกรอบการประเมิน PISA 2025 อยู่ในระดับปานกลาง (ค่าเฉลี่ยคะแนนคิดเป็นร้อยละ 76.16 ของคะแนนเต็ม) (2) ความพร้อมของครูสังกัดสำนักงานเขตบางขุนเทียน กรุงเทพมหานคร ที่มีวิชาที่สอนแตกต่างกัน พบว่า ครูที่สอนวิชาคอมพิวเตอร์ มีค่าเฉลี่ยคะแนนความพร้อมในการจัดการเรียนรู้แบบสะเต็มศึกษา ตามกรอบการประเมิน PISA 2025 สูงกว่าครูที่สอนวิชาอื่นๆ ซึ่งถือว่ามีความพร้อมในระดับมาก (ค่าเฉลี่ยคะแนนคิดเป็นร้อยละ 83.56 ของคะแนนเต็ม)\nสรุปผล: ด้วยคะแนนเฉลี่ยร้อยละ 76.16 การศึกษานี้แสดงให้เห็นว่าครูมีความพร้อมเพียงปานกลางเท่านั้นในการนำการศึกษา STEM ไปปฏิบัติภายในกรอบการประเมิน PISA 2025 ในทางกลับกัน ผู้ที่สอนวิชาที่เกี่ยวข้องกับคอมพิวเตอร์ได้คะแนน 83.56 เปอร์เซ็นต์ ซึ่งสูงกว่าอย่างเห็นได้ชัดและบ่งชี้ถึงระดับความสามารถที่โดดเด่นซึ่งเอื้ออำนวยต่อความสำเร็จในการบูรณาการ STEM ในการสอน","PeriodicalId":505621,"journal":{"name":"Interdisciplinary Academic and Research Journal","volume":"29 50","pages":""},"PeriodicalIF":0.0000,"publicationDate":"2024-07-22","publicationTypes":"Journal Article","fieldsOfStudy":null,"isOpenAccess":false,"openAccessPdf":"","citationCount":"0","resultStr":null,"platform":"Semanticscholar","paperid":null,"PeriodicalName":"Interdisciplinary Academic and Research Journal","FirstCategoryId":"1085","ListUrlMain":"https://doi.org/10.60027/iarj.2024.276485","RegionNum":0,"RegionCategory":null,"ArticlePicture":[],"TitleCN":null,"AbstractTextCN":null,"PMCID":null,"EPubDate":"","PubModel":"","JCR":"","JCRName":"","Score":null,"Total":0}
引用次数: 0
ความพร้อมในการจัดการเรียนรู้แบบสะเต็มศึกษา เพื่อพัฒนาผู้เรียนตามกรอบการประเมิน PISA 2025 ของครูสังกัดสำนักงานเขตบางขุนเทียน กรุงเทพมหานคร
ภูมิหลังและวัตถุประสงค์:การเตรียมความพร้อมของครูผู้สอนในระดับชั้นประถมศึกษาตอนปลายและมัธยมศึกษาอนต้นเพื่อปรับตัตวามกรอบการประเมิน pisa 2025 เป็นกระบวนการที่สำคัญและน่าสนใจอย่างมากเพือให้ครูมีความพร้อมที่จะสอนและสนับสุนการเรียนรู้ของนักเรียนในโลกดิจิทัล การวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพือ (1)ศึกษาความพร้อมของครูสังกัดสำนักงานเตาบงขุนเทียน กรุงเทพมหานคร ในการจัดากรเรียนรู้แบสะเต็มศึกษา ตามกรอบการประเมิน pisa 2025 และ (2) เปรียบเทียบความพร้อมของครูสังกัดสำนักงานเขตาบงุนเทียนกรุงเทพมหานคร ในากรจัดการเรียนรู้แบสะเต็มศึกษา ตามกรอบการประเมิน pisa 2025 ระหว่างครูที่มีวิชาที่สอนแติลางกันระเบียบวิธีการวิจัย:ประชากร คือ ครูที่สอนวิชาวิทยาศาสตร์ วิชาคณิตศาสตร์ และวิชาคอมพิวเตอร์ ระดับชั้นประถ↩มศึกษาตอนปลาย และมัธยมศึกษาตอนต้นในโรงเรียนสังกัดสำนกังานเขตบางขุนเทียน กรงเทพมหานคร จำนวน 100 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบสอบถาม ที่มีค่าความเชื่อมันเท่ากับ 0.963 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ประกอบด้วยสถิติบรยาย ได้แก่ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานผลการศกษา:(1) เE43↩นภาพรวมครูสังกัดสำนักงานเขตบางขุนเทียน กรุงเทพมหานคร มีความพร้อมในการจัดการเรียนรู้แบบสะเต็มศึกษา ตามกรอบการประเมิน pisa 2025 อยู่ในระดับปนากลาง (ค่าเฉลี่ยคะแนคิดเป็นร้อยละ 76.16 ของคะแนเต็ม) (2) ความพร้อมของครูสังกัดสำนกังานเขตบางขุนเทียน กรุงเทพมหานคร ที่มีวิชาที่สอนแตกตางกัน พบว่า ครูที่สอนวิชาคอมพิวเตอร์มีค่าเฉลี่ยคะแนนความพร้อมในการจัดารเรียนรู้แบบสะเต็มศึกษา ตามกรอบการประเมิน PISA 2025 สูงกว่าครูที่สสอนิชอาื่นๆ ซึ่งถือว่ามีความพร้อมในระดับมา (ค่าเฉลี่ยคะแนนคิเดป็นร้ยอละ 83.56 ของคะแนเต็ม)สรุปผล: ด้วยคะแนเฉลี่ยร้อยละ 76.16 การศึกษานี้แสดงให้เห็นว่าครูมีความพร้อมเพียงปานกลางเท่านั้นในการนำการศึกษา STEM ไปปฏิบัติภายในกรอบการประเมิน PISA 2025 ในทางกลับกัน ผู้ที่สอนวิชาที่เกี่ยวข้องกับคอมพิวเตอร์ได้คะแนน 83.56 เปอร์เซ็นต์ เซึ่งสูงกว่าอย่าอย่างหเด็่ชัดและบ่งชี้ถ↩ึงระบัความสามารถ↩ที่โดเดด่นซึ่งเอื้อำนวยต่อควมาสำเร็จใ↩นการบูรณาการ stem ในารสอน
本文章由计算机程序翻译,如有差异,请以英文原文为准。