อัตลักษณ์ชุมชมศิลปะเซรามิกจิ่งเต๋อเจิ้น สู่การจัดการถนนศิลปะเซรามิกร่วมสมัยในเขตจูซาน

Qi Yu, Jantana Khochprasert, Poradee Panthupakorn
{"title":"อัตลักษณ์ชุมชมศิลปะเซรามิกจิ่งเต๋อเจิ้น สู่การจัดการถนนศิลปะเซรามิกร่วมสมัยในเขตจูซาน","authors":"Qi Yu, Jantana Khochprasert, Poradee Panthupakorn","doi":"10.60027/iarj.2024.276441","DOIUrl":null,"url":null,"abstract":"ภูมิหลังและวัตถุประสงค์: งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อบูรณาการอัตลักษณ์ของชุมชนศิลปะเซรามิกจิ่งเต๋อเจิ้นเข้ากับการจัดการถนนศิลปะเซรามิก โดยศึกษาการเปลี่ยนแปลงทางประวัติศาสตร์ของศิลปะเซรามิกของจีน การพัฒนาของศิลปะเซรามิกร่วมสมัย เอกลักษณ์ของเครื่องปั้นดินเผาร่วมสมัยของจีน นโยบายระดับชาติและภูมิหลังอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง งานวิจัยนี้ยังวิเคราะห์เอกลักษณ์ของชุมชนถนนศิลปะเซรามิกเถาหยางซินชุน ซึ่งประกอบไปด้วยอัตลักษณ์ของภูมิหลังทางประวัติศาสตร์ อัตลักษณ์ทางวัฒนธรรม และอัตลักษณ์ของวิถีชีวิตทางสังคมของประชาชนในพื้นที่ เพื่อนำมาดำเนินการปรับปรุงและจัดทำแผนการสำหรับการบริหารจัดการ การจัดการเริ่มต้นจากการสร้างพื้นที่โดยรวม เพื่อกำหนดคู่มือแผนการจัดการใหม่และเฉพาะด้าน ซึ่งสอดคล้องกับการพัฒนาที่ยั่งยืนของชุมชนถนนศิลปะเซรามิกเถาหยางซินชุน เพื่อเพิ่มภาพลักษณ์ระดับภูมิภาคของถนนศิลปะเซรามิกในจิ่งเต๋อเจิ้น\nระเบียบวิธีการวิจัย: งานวิจัยนี้สัมภาษณ์ผู้เชี่ยวชาญ นักท่องเที่ยวและผู้อยู่อาศัยในชุมชนจำนวนมาก นอกจากนี้ยังจัดการพื้นที่ทางวัฒนธรรมและศิลปะของชุมชนถนนศิลปะเถาหยางซินชุน ผ่านการวิเคราะห์เอกสาร การสำรวจภาคสนาม และวิธีการวิจัยแบบสหวิทยาการ และนำมาผสมผสานเข้ากับทฤษฎีการจัดการวัฒนธรรมและศิลปะ\nผลการวิจัย: งานวิจัยนี้ได้เรียบเรียงเอกสารทางประวัติศาสตร์ ดำเนินการสำรวจและวิเคราะห์ชุมชนศิลปะเซรามิกที่สำคัญในจิ่งเต๋อเจิ้น โดยเน้นไปที่วัฒนธรรมและอัตลักษณ์ของชุมชนถนนเซรามิกเถาหยางซินชุน ค้นพบว่ามีความขัดแย้งและข้อบกพร่องในกระบวนการพัฒนา จากพื้นฐานทางทฤษฎีและเอกลักษณ์ของภูมิภาคในท้องถิ่น การวางแผนและการจัดการทางศิลปะใหม่ทั้งหมดของพื้นที่นี้ และยังจัดทำเป็นชุดคู่มือการจัดการที่สมบูรณ์ การศึกษาก่อนหน้านี้ส่วนมากเน้นไปที่วัสดุเซรามิกหรือการออกแบบงานศิลปะเซรามิก แต่เมื่อเปรียบเทียบกับงานวิจัยอื่นแล้ว งานวิจัยนี้มีเนื้อหาที่ครอบคลุมและสามารถนำไปใช้งานได้จริง เพื่อแก้ปัญหาในทางปฏิบัติที่การพัฒนาพื้นที่ของชุมชนศิลปะเซรามิกจิ่งเต๋อเจิ้นกำลังเผชิญอยู่ โดยมีชุมชนถนนศิลปะเซรามิกเถาหยางซินชุน จิ่งเต๋อเจิ้นมาเป็นกรณีศึกษา จัดทำเป็นชุดแผนการจัดการที่สมบูรณ์ เพื่อช่วยให้ชุมชนถนนศิลปะเซรามิกได้รับการพัฒนาอย่างยั่งยืน","PeriodicalId":505621,"journal":{"name":"Interdisciplinary Academic and Research Journal","volume":"31 12","pages":""},"PeriodicalIF":0.0000,"publicationDate":"2024-07-24","publicationTypes":"Journal Article","fieldsOfStudy":null,"isOpenAccess":false,"openAccessPdf":"","citationCount":"0","resultStr":null,"platform":"Semanticscholar","paperid":null,"PeriodicalName":"Interdisciplinary Academic and Research Journal","FirstCategoryId":"1085","ListUrlMain":"https://doi.org/10.60027/iarj.2024.276441","RegionNum":0,"RegionCategory":null,"ArticlePicture":[],"TitleCN":null,"AbstractTextCN":null,"PMCID":null,"EPubDate":"","PubModel":"","JCR":"","JCRName":"","Score":null,"Total":0}
引用次数: 0

Abstract

ภูมิหลังและวัตถุประสงค์: งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อบูรณาการอัตลักษณ์ของชุมชนศิลปะเซรามิกจิ่งเต๋อเจิ้นเข้ากับการจัดการถนนศิลปะเซรามิก โดยศึกษาการเปลี่ยนแปลงทางประวัติศาสตร์ของศิลปะเซรามิกของจีน การพัฒนาของศิลปะเซรามิกร่วมสมัย เอกลักษณ์ของเครื่องปั้นดินเผาร่วมสมัยของจีน นโยบายระดับชาติและภูมิหลังอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง งานวิจัยนี้ยังวิเคราะห์เอกลักษณ์ของชุมชนถนนศิลปะเซรามิกเถาหยางซินชุน ซึ่งประกอบไปด้วยอัตลักษณ์ของภูมิหลังทางประวัติศาสตร์ อัตลักษณ์ทางวัฒนธรรม และอัตลักษณ์ของวิถีชีวิตทางสังคมของประชาชนในพื้นที่ เพื่อนำมาดำเนินการปรับปรุงและจัดทำแผนการสำหรับการบริหารจัดการ การจัดการเริ่มต้นจากการสร้างพื้นที่โดยรวม เพื่อกำหนดคู่มือแผนการจัดการใหม่และเฉพาะด้าน ซึ่งสอดคล้องกับการพัฒนาที่ยั่งยืนของชุมชนถนนศิลปะเซรามิกเถาหยางซินชุน เพื่อเพิ่มภาพลักษณ์ระดับภูมิภาคของถนนศิลปะเซรามิกในจิ่งเต๋อเจิ้น ระเบียบวิธีการวิจัย: งานวิจัยนี้สัมภาษณ์ผู้เชี่ยวชาญ นักท่องเที่ยวและผู้อยู่อาศัยในชุมชนจำนวนมาก นอกจากนี้ยังจัดการพื้นที่ทางวัฒนธรรมและศิลปะของชุมชนถนนศิลปะเถาหยางซินชุน ผ่านการวิเคราะห์เอกสาร การสำรวจภาคสนาม และวิธีการวิจัยแบบสหวิทยาการ และนำมาผสมผสานเข้ากับทฤษฎีการจัดการวัฒนธรรมและศิลปะ ผลการวิจัย: งานวิจัยนี้ได้เรียบเรียงเอกสารทางประวัติศาสตร์ ดำเนินการสำรวจและวิเคราะห์ชุมชนศิลปะเซรามิกที่สำคัญในจิ่งเต๋อเจิ้น โดยเน้นไปที่วัฒนธรรมและอัตลักษณ์ของชุมชนถนนเซรามิกเถาหยางซินชุน ค้นพบว่ามีความขัดแย้งและข้อบกพร่องในกระบวนการพัฒนา จากพื้นฐานทางทฤษฎีและเอกลักษณ์ของภูมิภาคในท้องถิ่น การวางแผนและการจัดการทางศิลปะใหม่ทั้งหมดของพื้นที่นี้ และยังจัดทำเป็นชุดคู่มือการจัดการที่สมบูรณ์ การศึกษาก่อนหน้านี้ส่วนมากเน้นไปที่วัสดุเซรามิกหรือการออกแบบงานศิลปะเซรามิก แต่เมื่อเปรียบเทียบกับงานวิจัยอื่นแล้ว งานวิจัยนี้มีเนื้อหาที่ครอบคลุมและสามารถนำไปใช้งานได้จริง เพื่อแก้ปัญหาในทางปฏิบัติที่การพัฒนาพื้นที่ของชุมชนศิลปะเซรามิกจิ่งเต๋อเจิ้นกำลังเผชิญอยู่ โดยมีชุมชนถนนศิลปะเซรามิกเถาหยางซินชุน จิ่งเต๋อเจิ้นมาเป็นกรณีศึกษา จัดทำเป็นชุดแผนการจัดการที่สมบูรณ์ เพื่อช่วยให้ชุมชนถนนศิลปะเซรามิกได้รับการพัฒนาอย่างยั่งยืน
อัตลักษณ์ชุมชมศิลปะเซรามิกจิ่งเต๋อเจิ้น สู่การจัดการถนนศิลปะเซรามิกร่วมสมัยในเขตจูซาน
ภูมิหลังและวัตถุประสงค์:งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อบูรณาการอัตลักษณ์ของชุมชนศิลปะเซรามิกจิ่งเต๋อเจิ้นเข้ากับารจัดการถนศิลปะเซรามิกโดยศึกษากรเปลี่ยนแปลงทางประวัติศาสตร์ของศิลปะเซรามิกขงจีน การพัฒนาของศิลปะเซรามิกร่วมสมัเอกลักษณ์ของเคร่อองปั้นดินเผาร่วมสมัยของจีน นโยบายระดับชาติและภูมิหลังอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องงานวิจัยนี้ยังวิเคราะห์เอกลักษณ์ของชุมชนถนนศิลปะเซรามิกเถายหางซินชุน ซึ่งประกอบไปด้วยอตัลกษณ์ของภูมิหลังทางประวัติศาสตร์อัตลักษณ์ทางวัฒนธรรม และอัตลักษณ์ของวิถีชีวิตทางสังคมของประชาชนในพื้นที่ เพื่อนำมาดำเนินการปรับปรุงและจัดทำแผนการสำหรับการบริหารจัดการ การจัดการเริ่มต้นจากการสร้างพื้นที่โดยรวมเพื่อกำหนดคู่มือแผนการจัดการใหม่และเฉพาะด้าน ซึ่งสอดคล้องกับการพัฒนาที่ยั่งยืนของชุมชนถนนศิลปะเซรามิกเถาหยางซินชุน เพื่อเพิ่มภาพลักษณ์ระดับภูมิภาคของถนนศิลปะเซรามิกในจิ่งเต๋อเจิ้นระเบียบวิธีการวิจัย:งานวิจัยนี้สัภมาษณ์ผู้เชี่ยวชาญ นักท่องเที่ยวและผู้อยูอ่าศัยใชนุมชนจำนวมาก นอกจากนี้ยังจัดากรพื้นที่ทางวัฒนธรรมและศิลปะของชุมชนถนศิลปะเถาหายงซินชุนผ่านการวิเคราะห์เอกสาร การสำรวจภาคสนาม และวิธีการวิจัยแบบสหวิทยาการและนำมาผสมผสานเข้ากับทฤษฎีการจัดการวัฒนธรรมและศปะผลการวิจัย:งานวิจัยนี้ได้เรียบเรียงเอกสารทางประวัติศาสตร์ ดำเนินการสำรวจและวิเคราะห์ชุมชนศิลปะเซรามิกที่สำคัญในจิ่งเต๋อเจิ้น โดยเน้นไปที่วัฒนธรรมและอัตลักษณ์ของชุมชนถนนเซรามิกเถาหยางซินชุนค้นพบว่ามีความขัดแย้งและข้อบกพร่องในกระบวนการพัฒนา จากพื้นฐานทางทฤษฎีและเอกลักษณ์ของภูมิภาคในท้องถิ่น การวางแผนและการจัดการทางศิลปะใหม่ทั้งหมดของพื้นที่นี้ และยังจัดทำเป็นชุดคู่มือการจัดการที่สมบูรณ์การศึกษาการถนำไปใชี่วัสัยออออออออืเพื่อแกปัญหาในทางปฏิบัติที่การพัฒนาพืนที่ของชุมชนศิลปะเซรามิกจิ่งเต๋อเจิ้นกำลังเผชิญอยู่ โดยมีชุมชนถนศิลปะเซรามิกเถาหยางซินุชนจิ่งเต๋อเจิ้นมาเ็ปนกรณีศึกษา จัดทำเป็นชุดแผนการจัดการที่สมบูรณ์ เพ่อช่วยใหุ้ชมชนถนศิลปะเซรามิกได้ับการพัฒนาย่างยั่งยืน
本文章由计算机程序翻译,如有差异,请以英文原文为准。
求助全文
约1分钟内获得全文 求助全文
来源期刊
自引率
0.00%
发文量
0
×
引用
GB/T 7714-2015
复制
MLA
复制
APA
复制
导出至
BibTeX EndNote RefMan NoteFirst NoteExpress
×
提示
您的信息不完整,为了账户安全,请先补充。
现在去补充
×
提示
您因"违规操作"
具体请查看互助需知
我知道了
×
提示
确定
请完成安全验证×
copy
已复制链接
快去分享给好友吧!
我知道了
右上角分享
点击右上角分享
0
联系我们:info@booksci.cn Book学术提供免费学术资源搜索服务,方便国内外学者检索中英文文献。致力于提供最便捷和优质的服务体验。 Copyright © 2023 布克学术 All rights reserved.
京ICP备2023020795号-1
ghs 京公网安备 11010802042870号
Book学术文献互助
Book学术文献互助群
群 号:481959085
Book学术官方微信