{"title":"ผลของการใช้กลวิธี REAP ที่มีต่อความสามารถในการอ่านเชิงวิเคราะห์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3","authors":"พิมลกร ทวยหาญ, เพชร วิจิตรนาวิน","doi":"10.60027/iarj.2024.276607","DOIUrl":null,"url":null,"abstract":"ภูมิหลังและวัตถุประสงค์: ทักษะการอ่านเชิงวิเคราะห์มีความสําคัญต่อนักเรียนระดับมัธยมศึกษา ในการพิจารณาข้อมูลอย่างรอบคอบและตัดสินใจได้อย่างมีเหตุผล อย่างไรก็ตาม ผลการประเมิน PISA ปี 2022 พบว่าทักษะการอ่านของเด็กไทยมีแนวโน้มลดลง นอกจากนี้ผลการประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์และเขียนของโรงเรียนวิวัฒน์วิทยา (นามสมมติ) พบว่าคะแนนเฉลี่ยของนักเรียนต่ำกว่าเกณฑ์ที่ตั้งไว้ สาเหตุมาจากนักเรียนขาดทักษะการวิเคราะห์เนื้อหาจากบทอ่านและไม่สามารถเขียนสรุปความคิดของตนเองได้ นอกจากนี้ครูผู้สอนอาจจะยังขาดองค์ความรู้ในการจัดการเรียนรู้เรื่องทักษะการอ่าน ผู้วิจัยจึงสนใจจะพัฒนาความสามารถในการอ่านเชิงวิเคราะห์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดยการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ด้วยกลวิธี REAP ซึ่งการวิจัยในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินผลของการใช้กลวิธี REAP ที่มีต่อความสามารถในการอ่านเชิงวิเคราะห์โดยเปรียบเทียบค่ามัธยฐานของคะแนนความสามารถในการอ่านเชิงวิเคราะห์ของนักเรียนมัธยมศึกษาปีที่ 3 ก่อนและหลังการทดลอง\nระเบียบวิธีการวิจัย: ประชากรที่ใช้ในการวิจัยเป็นประชากรกลุ่มเป้าหมาย (target population) นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนวิวัฒน์วิทยา (นามสมมติ) ห้อง ม. 3/1 จำนวน 31 คน ที่กำลังศึกษาในภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2566 โดยใช้วิธีการเลือกแบบแบบเจาะจง (purposive sampling) เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล คือ แบบทดสอบวัดความสามารถในการอ่านเชิงวิเคราะห์ และเครื่องมือที่ใช้ในการทดลอง ได้แก่ แผนการจัดการเรียนรู้ด้วยกลวิธี REAP จำนวน 6 แผน ผู้วิจัยวิเคราะห์ข้อมูลโดยหาค่ามัธยฐานและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และทดสอบค่านัยสำคัญของความแตกต่างโดยใช้สถิติทดสอบ Wilcoxon test\nผลการวิจัย: นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ที่ได้รับการจัดการเรียนรู้ด้วยกลวิธี REAP มีค่ามัธยฐานของคะแนนความสามารถในการอ่านเชิงวิเคราะห์สูงกว่าก่อนการทดลองอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ซึ่งเป็นไปตามสมมติฐานของการวิจัย\nสรุปผล: กลวิธี REAP สามารถพัฒนาความสามารถในการอ่านเชิงวิเคราะห์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ได้ โดยช่วยให้ผู้อ่านได้จัดระเบียบทางความคิดขณะอ่าน และมีการโต้ตอบกับบทอ่านอย่างเป็นระบบ ประกอบกับผู้อ่านได้พัฒนาทักษะการเขียนควบคู่กับการอ่านไปด้วย ตลอดจนอภิปรายแลกเปลี่ยนความคิดร่วมกัน ด้วยเหตุนี้จึงทำให้ความสามารถในการอ่านเชิงวิเคราะห์ของนักเรียนสูงขึ้นตามลำดับ","PeriodicalId":505621,"journal":{"name":"Interdisciplinary Academic and Research Journal","volume":"51 28","pages":""},"PeriodicalIF":0.0000,"publicationDate":"2024-07-25","publicationTypes":"Journal Article","fieldsOfStudy":null,"isOpenAccess":false,"openAccessPdf":"","citationCount":"0","resultStr":null,"platform":"Semanticscholar","paperid":null,"PeriodicalName":"Interdisciplinary Academic and Research Journal","FirstCategoryId":"1085","ListUrlMain":"https://doi.org/10.60027/iarj.2024.276607","RegionNum":0,"RegionCategory":null,"ArticlePicture":[],"TitleCN":null,"AbstractTextCN":null,"PMCID":null,"EPubDate":"","PubModel":"","JCR":"","JCRName":"","Score":null,"Total":0}
引用次数: 0
ผลของการใช้กลวิธี REAP ที่มีต่อความสามารถในการอ่านเชิงวิเคราะห์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3
ภูมิหลังและวัตถุประสงค์:ทักษะการอ่านเชิงวิเคราะหมีความสําคัญต่อนักเรียนระดับมัธยมศึกษา ใกนารพจิารณาข้อมูลอย่างรบคอบและตัดสินใจได้อย่างมีเหตุผลานผลากรประเมิน PISA ปี 2022 พบ่วาทักษะการอ่านของเด็กไทยมีแนวโน้มลดง นอกจากีน้ผลากรประเมินการอ่านคิดวิเคราะห์และเขียนของโรงเรียนวิวัฒน์วิทยา (นามสมมติ) พบว่าคะแนนเฉลี่ยของนักเรียนต่ำกว่าเกณฑ์ที่ตั้งไว้ สาเหตุมาจากนักเรียนขาดทักษะการวิเคราะห์เนื้อหาจากบทอ่านและไม่สามารถเขียนสรุปความคิดของตนเองได้นอกจากนี้ครูผู้สอนอาจะยังขาดองค์ความรู้ในการจัดการเรียนรู้เรื่องทักษะการอ่านผู้วิจัยจึงสนใจะพัฒนาความสามารถในการอ่านเชิงวิเคราะห์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดยการจัดกิจรมการเรียนรู้วิธีมตัเE16↩ปรุะสงค์เพื่อประเมินผลของการใช้กวลิธี reapที่มีต่อความสามารถในการอ่านเชิงวิเคราะห์โดยเปรียบเทียบค่ามัธยฐานของคะแนนความสามารถในการอ่านเชิงวิเคราะห์ของนักเรียนมัธยมศึกษาปีที่ 3 ก่อนและหลังการทดลองระเบียบวิธีการวิจัย:ประชากรที่ใช้ในการวิจัยเป็นประชากรลุ่มเป้าหมาย (target population) นักเรียนระดับชัน้มัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนวิวัฒน์วิทยา (นามสมมติ) ห้อง ม.3/1 จำนวน 31 คน ที่กำลังศึกษาในภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2566 ดยใช้วิธีการเลือกแบแบเจาะจง (purposive sampling)เครืองมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล คือ แบทดสอบวัดความสามารถในการอ่านเชิงวิเคราะห์ และเครืองมือที่ใช้ในการทดลองได้แก่ แผนการจัดการเรียนรู้ด้วยกลวิธี REAP จำนวน 6 แผน ผู้วิจัยวิเคราะห์ข้อมูลโดยหาค่ามัธยฐานและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และทดสอบค่านัยสำคัญของความแตกต่างโดยใช้สถิติทดสอบ Wilcoxon testผลการวิจัย:นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ที่ได้รับการจัดการเรียนรู้ด้วยกลวิธี REAP มีค่ามัธยฐานของคะแนนความสามารถในการอ่านเชิงวิเคราะห์สูงกว่าก่อนการทดลองอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ึซ่งเป็นฐาสมติฐาขนองการวิจัยสรุปผล:กลวิธี REAP สามารถพัฒนาความสามารถในการอ่านเชิงวิเคราะห์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ได้ โดยช่วยให้ผู้อ่านได้จัดระเบียบทางความคิดขณะอ่าน และมีการโต้ตอบกับบทอ่านอย่างเป็นระบบประกอบกับผู้่อานได้พัฒนาทักษะการเขียนควบคู่กับการอานไปด้วย ตลอดจนอภิปรายแลกเปลี่ยนความคิดร่วมกัน ด้วยเหตุนี้จึงทำให้ความสามารถ↩ในการอ่านเชิงวิเคราระห์ของนักเรียนสูงขึนตม้ารำบดั
本文章由计算机程序翻译,如有差异,请以英文原文为准。