ปัจจัยการเสริมสร้างพลังอำนาจของผู้บริหารสถานศึกษาที่ส่งผลต่อ ภาวะหมดไฟในการทำงานของครูผู้ช่วย สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาพิษณุโลก อุตรดิตถ์

ณปภัช ทรวงโพธิ์, นันทิมา นาคาพงศ์ อัศวรักษ์
{"title":"ปัจจัยการเสริมสร้างพลังอำนาจของผู้บริหารสถานศึกษาที่ส่งผลต่อ ภาวะหมดไฟในการทำงานของครูผู้ช่วย สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาพิษณุโลก อุตรดิตถ์","authors":"ณปภัช ทรวงโพธิ์, นันทิมา นาคาพงศ์ อัศวรักษ์","doi":"10.60027/iarj.2024.277181","DOIUrl":null,"url":null,"abstract":"ภูมิหลังและวัตถุประสงค์: บุคคลที่ประสบกับภาวะหมดไฟในการทำงานจะขาดแรงจูงใจ ท้อแท้และเหนื่อยหน่ายในการทำงาน ซึ่งจะส่งผลเสียทั้งต่อบุคคลและองค์กร การเสริมสร้างพลังอำนาจ เป็นแนวคิดที่ช่วยส่งเสริม สนับสนุนให้บุคคลเห็นคุณค่าของเป้าหมายการทำงาน ก่อให้เกิดแรงจูงใจในการทำงานด้วยความเชื่อมั่นในศักยภาพของตนเอง และผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจากกระบวนการเสริมสร้างพลังอำนาจนั้นมีผลทั้งในด้านจิตใจและศักยภาพการทำงานและส่งผลต่อประสิทธิภาพในการทำงาน โดยการวิจัยในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาระดับของปัจจัยการเสริมสร้างพลังอำนาจของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาพิษณุโลก อุตรดิตถ์ 2) เพื่อศึกษาระดับของภาวะหมดไฟในการทำงานของครูผู้ช่วย สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาพิษณุโลก อุตรดิตถ์ 3) เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ของปัจจัยการเสริมสร้างพลังอำนาจของผู้บริหารสถานศึกษากับภาวะหมดไฟในการทำงานของครูผู้ช่วย สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาพิษณุโลก อุตรดิตถ์ และ 4) เพื่อศึกษาผลการพยากรณ์ของปัจจัยการเสริมสร้างพลังอำนาจของผู้บริหารสถานศึกษาที่ส่งผลต่อภาวะหมดไฟในการทำงานของครูผู้ช่วย สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาพิษณุโลก อุตรดิตถ์\nระเบียบวิธีการวิจัย: กลุ่มตัวอย่างในการวิจัย ได้แก่ ครูผู้ช่วย ในสถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาพิษณุโลก อุตรดิตถ์ ปีการศึกษา 2566 จำนวน 148 คน ได้มาโดยการเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบโควตา (Quota sampling) ตามสัดส่วนของครูผู้ช่วยแต่ละสถานศึกษา ในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาพิษณุโลก อุตรดิตถ์ เก็บรวบรวมข้อมูลด้วยแบบสอบถาม มีลักษณะเป็นมาตรประมาณค่า 5 ระดับ โดยมีค่าความเชื่อมั่นทั้งฉบับเท่ากับ 0.968 วิเคราะห์ข้อมูลด้วยค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย และค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าสถิติสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน (Pearson correlation coefficient) และการวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณแบบขั้นตอน (Stepwise Multiple Regression)\nผลการวิจัย: 1) ผลการศึกษาระดับของปัจจัยการเสริมสร้างพลังอำนาจของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาพิษณุโลก อุตรดิตถ์ ทุกปัจจัยอยู่ในระดับมาก ซึ่งปัจจัยที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุด คือ การส่งเสริมให้มีโอกาสก้าวหน้า อยู่ในระดับมากและปัจจัยที่มีค่าเฉลี่ยต่ำสุด คือ การได้รับข้อมูลข่าวสาร อยู่ในระดับมาก 2) ผลการศึกษาระดับของภาวะหมดไฟในการทำงานของครูผู้ช่วย สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาพิษณุโลก อุตรดิตถ์ โดยภาพรวมอยู่ในระดับน้อย เมื่อพิจารณารายด้าน พบว่า ด้านที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุด คือ ความอ่อนล้าทางอารมณ์ อยู่ในระดับน้อยและด้านที่มีค่าเฉลี่ยต่ำสุด คือ ด้านการลดความสำเร็จส่วนบุคคล อยู่ในระดับน้อย 3) ผลการศึกษาความสัมพันธ์ของปัจจัยการเสริมสร้างพลังอำนาจของผู้บริหารสถานศึกษากับภาวะหมดไฟในการทำงานของครูผู้ช่วย สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาพิษณุโลก อุตรดิตถ์ พบว่า มีความสัมพันธ์เชิงลบ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 โดยมีค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์อยู่ระหว่าง -0.198 ถึง -0.539 4) ผลการพยากรณ์ของปัจจัยการเสริมสร้างพลังอำนาจของผู้บริหารสถานศึกษาที่ส่งผลต่อภาวะหมดไฟในการทำงานของครูผู้ช่วย สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาพิษณุโลก อุตรดิตถ์ พบว่า การสนับสนุนให้มีความรู้และทักษะ (X3) การส่งเสริมให้มีโอกาสก้าวหน้า (X4) และการจัดสรรทรัพยากร (X1) สามารถร่วมกันอธิบายภาวะหมดไฟในการทำงานของครูผู้ช่วย สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาพิษณุโลก อุตรดิตถ์ (Y) ได้อย่างมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 โดยมีค่าอำนาจการพยากรณ์ได้ร้อยละ 41.40  สามารถเขียนสมการพยากรณ์ในรูปคะแนนดิบและคะแนนมาตรฐานตามลำดับ ดังนี้\n            สมการพยากรณ์ในรูปคะแนนดิบ\n             = 5.021 - 0.330X3 - 0.231X4 - 0.204X1\n            สมการพยากรณ์ในรูปคะแนนมาตรฐาน\n            y = - 0.377Zx3 - 0.235Zx4 - 0.213Zx1\nสรุปผล: การเสริมสร้างพลังอำนาจของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาพิษณุโลก อุตรดิตถ์ ทุกปัจจัยอยู่ในระดับมาก และภาวะหมดไฟในการทำงานของครูผู้ช่วย สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาพิษณุโลก อุตรดิตถ์ โดยภาพรวมอยู่ในระดับน้อย ทั้งยังพบว่าตัวแปรมีความสัมพันธ์เชิงลบ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และปัจจัยการสนับสนุนให้มีความรู้และทักษะ การส่งเสริมให้มีโอกาสก้าวหน้า และการจัดสรรทรัพยากร สามารถร่วมกันอธิบายภาวะหมดไฟในการทำงานของครูผู้ช่วย สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาพิษณุโลก อุตรดิตถ์ ได้อย่างมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 โดยมีค่าอำนาจการพยากรณ์ได้ร้อยละ 41.40","PeriodicalId":505621,"journal":{"name":"Interdisciplinary Academic and Research Journal","volume":"12 10","pages":""},"PeriodicalIF":0.0000,"publicationDate":"2024-07-25","publicationTypes":"Journal Article","fieldsOfStudy":null,"isOpenAccess":false,"openAccessPdf":"","citationCount":"0","resultStr":null,"platform":"Semanticscholar","paperid":null,"PeriodicalName":"Interdisciplinary Academic and Research Journal","FirstCategoryId":"1085","ListUrlMain":"https://doi.org/10.60027/iarj.2024.277181","RegionNum":0,"RegionCategory":null,"ArticlePicture":[],"TitleCN":null,"AbstractTextCN":null,"PMCID":null,"EPubDate":"","PubModel":"","JCR":"","JCRName":"","Score":null,"Total":0}
引用次数: 0

Abstract

ภูมิหลังและวัตถุประสงค์: บุคคลที่ประสบกับภาวะหมดไฟในการทำงานจะขาดแรงจูงใจ ท้อแท้และเหนื่อยหน่ายในการทำงาน ซึ่งจะส่งผลเสียทั้งต่อบุคคลและองค์กร การเสริมสร้างพลังอำนาจ เป็นแนวคิดที่ช่วยส่งเสริม สนับสนุนให้บุคคลเห็นคุณค่าของเป้าหมายการทำงาน ก่อให้เกิดแรงจูงใจในการทำงานด้วยความเชื่อมั่นในศักยภาพของตนเอง และผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจากกระบวนการเสริมสร้างพลังอำนาจนั้นมีผลทั้งในด้านจิตใจและศักยภาพการทำงานและส่งผลต่อประสิทธิภาพในการทำงาน โดยการวิจัยในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาระดับของปัจจัยการเสริมสร้างพลังอำนาจของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาพิษณุโลก อุตรดิตถ์ 2) เพื่อศึกษาระดับของภาวะหมดไฟในการทำงานของครูผู้ช่วย สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาพิษณุโลก อุตรดิตถ์ 3) เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ของปัจจัยการเสริมสร้างพลังอำนาจของผู้บริหารสถานศึกษากับภาวะหมดไฟในการทำงานของครูผู้ช่วย สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาพิษณุโลก อุตรดิตถ์ และ 4) เพื่อศึกษาผลการพยากรณ์ของปัจจัยการเสริมสร้างพลังอำนาจของผู้บริหารสถานศึกษาที่ส่งผลต่อภาวะหมดไฟในการทำงานของครูผู้ช่วย สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาพิษณุโลก อุตรดิตถ์ ระเบียบวิธีการวิจัย: กลุ่มตัวอย่างในการวิจัย ได้แก่ ครูผู้ช่วย ในสถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาพิษณุโลก อุตรดิตถ์ ปีการศึกษา 2566 จำนวน 148 คน ได้มาโดยการเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบโควตา (Quota sampling) ตามสัดส่วนของครูผู้ช่วยแต่ละสถานศึกษา ในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาพิษณุโลก อุตรดิตถ์ เก็บรวบรวมข้อมูลด้วยแบบสอบถาม มีลักษณะเป็นมาตรประมาณค่า 5 ระดับ โดยมีค่าความเชื่อมั่นทั้งฉบับเท่ากับ 0.968 วิเคราะห์ข้อมูลด้วยค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย และค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าสถิติสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน (Pearson correlation coefficient) และการวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณแบบขั้นตอน (Stepwise Multiple Regression) ผลการวิจัย: 1) ผลการศึกษาระดับของปัจจัยการเสริมสร้างพลังอำนาจของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาพิษณุโลก อุตรดิตถ์ ทุกปัจจัยอยู่ในระดับมาก ซึ่งปัจจัยที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุด คือ การส่งเสริมให้มีโอกาสก้าวหน้า อยู่ในระดับมากและปัจจัยที่มีค่าเฉลี่ยต่ำสุด คือ การได้รับข้อมูลข่าวสาร อยู่ในระดับมาก 2) ผลการศึกษาระดับของภาวะหมดไฟในการทำงานของครูผู้ช่วย สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาพิษณุโลก อุตรดิตถ์ โดยภาพรวมอยู่ในระดับน้อย เมื่อพิจารณารายด้าน พบว่า ด้านที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุด คือ ความอ่อนล้าทางอารมณ์ อยู่ในระดับน้อยและด้านที่มีค่าเฉลี่ยต่ำสุด คือ ด้านการลดความสำเร็จส่วนบุคคล อยู่ในระดับน้อย 3) ผลการศึกษาความสัมพันธ์ของปัจจัยการเสริมสร้างพลังอำนาจของผู้บริหารสถานศึกษากับภาวะหมดไฟในการทำงานของครูผู้ช่วย สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาพิษณุโลก อุตรดิตถ์ พบว่า มีความสัมพันธ์เชิงลบ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 โดยมีค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์อยู่ระหว่าง -0.198 ถึง -0.539 4) ผลการพยากรณ์ของปัจจัยการเสริมสร้างพลังอำนาจของผู้บริหารสถานศึกษาที่ส่งผลต่อภาวะหมดไฟในการทำงานของครูผู้ช่วย สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาพิษณุโลก อุตรดิตถ์ พบว่า การสนับสนุนให้มีความรู้และทักษะ (X3) การส่งเสริมให้มีโอกาสก้าวหน้า (X4) และการจัดสรรทรัพยากร (X1) สามารถร่วมกันอธิบายภาวะหมดไฟในการทำงานของครูผู้ช่วย สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาพิษณุโลก อุตรดิตถ์ (Y) ได้อย่างมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 โดยมีค่าอำนาจการพยากรณ์ได้ร้อยละ 41.40  สามารถเขียนสมการพยากรณ์ในรูปคะแนนดิบและคะแนนมาตรฐานตามลำดับ ดังนี้             สมการพยากรณ์ในรูปคะแนนดิบ              = 5.021 - 0.330X3 - 0.231X4 - 0.204X1             สมการพยากรณ์ในรูปคะแนนมาตรฐาน             y = - 0.377Zx3 - 0.235Zx4 - 0.213Zx1 สรุปผล: การเสริมสร้างพลังอำนาจของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาพิษณุโลก อุตรดิตถ์ ทุกปัจจัยอยู่ในระดับมาก และภาวะหมดไฟในการทำงานของครูผู้ช่วย สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาพิษณุโลก อุตรดิตถ์ โดยภาพรวมอยู่ในระดับน้อย ทั้งยังพบว่าตัวแปรมีความสัมพันธ์เชิงลบ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และปัจจัยการสนับสนุนให้มีความรู้และทักษะ การส่งเสริมให้มีโอกาสก้าวหน้า และการจัดสรรทรัพยากร สามารถร่วมกันอธิบายภาวะหมดไฟในการทำงานของครูผู้ช่วย สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาพิษณุโลก อุตรดิตถ์ ได้อย่างมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 โดยมีค่าอำนาจการพยากรณ์ได้ร้อยละ 41.40
ปัจจัยการเสริมสร้างพลังอำนาจของผู้บริหารสถานศึกษาที่ส่งผลต่อ ภาวะหมดไฟในการทำงานของครูผู้ช่วย สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาพิษณุโลก อุตรดิตถ์
ภูมิหลังและวัตถุประสงค์:เด็เด็แด็จันที่ยประสบกับภาวะหมดไฟในการทำงานจะขาดแรงจูงใจ ท้อแท้และเหนื่อยหน่ายในการทำงาน ซึ่งจะส่งผหเสียทั้งต่อบุคคคอองค์กร การเสริมสร้างพหังอำนาจเป็นแนวคิดที่ช่วยส่งเสริม สนับสนุนให้บุคเห็นคุณคา่ของเป้าหมายการทำงาน ก่อให้กเิดแรงจูงใจในการทำงานด้วยความเช่อืมั่นในศักยภาพองตนเองและผลลัพธ์ที่เกิขดึ้นจากระบวนการเสิมสร้างพลังำนาจนั้นีผลไทั้งาจิตใจและศักยภาพการทำงานและส่งผลต่อประสิท↪LoE18↩ิภาพ↪LoE43↩นการทำงานโดยการวจัยในคร้ังนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศกึษาระดับของปัจัยการเสิมสร้างพลังอำนาจของผู้บริสังกัดสำนักงานเขตพ้ืนที่การศึกษามัธยมศึกษาพษิณุโลก อุตรดิตถ์ 2) เพื่อศึกษาระดับของภาวะหมดไฟในการทงำานของครูผู้ช่วย สังกัดสำนังกานเขตพ้ืนที่การศึกษามัธยมศึกษาพษิษณุโลกอุตรดิตถ์ 3) เพอือศึกษาความสัมพันธ์ขงปอจัยการเสริมสร้างพลังอำนาจของผู้บริหารสถานศึกษากับภาวะหมดไฟในการทำงานของครูผู้่ชวยสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาพิษณุโลก อุตรดิตถ์ และ 4) เพื่อศึกษาผลการพยากรณ์ของปัจจัยการเสริมสร้างพลังอำนาจของผู้บริหารสถานศึกษาที่ส่งผลต่อภาวะหมดไฟในการทำงานของครูผู้ช่วยสังกัดสำนักงานเขตพ้ืนที่การศึกษามัธยมศึกษาพิษณุโลกอุตรดิตถ์ระเบียบวิธีการวจัย:กลุ่มตัวอย่างในการวิจัย ได้แก่ ครูผู้ช่วย ในสถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาพิษณุโลก อุตรดิตถ์ ปีการศึกษา 2566 จำนวน 148 คน ได้มาโดยการเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบโควตา (Quota sampling)ตามสัดส่วนของครูผู้ช่วยแต่ละสถานศึกษา ในสังกัดสำนักงานเขขพตื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาพิษณุลก อุตรดิตถ์เก็บรวบรมข้อมูลด้วยแบสอบถาม มีลักษณะเป็นมาตรประมาณค่า 5 ระดับ โดยมีค่าความเชือมั่นทั้งฉบับเท่ากับ 0.968 วิเคราะห์ข้อมูลด้วยค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย และค่าส่วนเบี่ยงเบนามตรฐานค่าสถิติสัมประสิทธิ์หสัมพันธ์ของเพียร์สัน (Pearson correlation coefficient) และการวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณแบบขั้นตอน (Stepwise Multiple Regression)ผลการวิจัย:1) ผลการศึกษาระดับของปัจัยการเสริมสร้างพลังอำนาจของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาพิษณุลโกอุตรดิตถ์ ทุกปัจจัยอยู่ในระดับมาก ซึ่งปัจจัยที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุด คือ การส่งเสริมใหม้ีโอกาสก้าวหน้าอยู่ในระดับมากและปัจัยที่มีค่าเฉลี่ยต่ำสุด คือ การได้รับข้อมูข่าวสาร อยู่ในระดับมาก 2)ผลการศึกษาระดับขอภาวหมดไฟในการทำงานของครูผู้ช่วย สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาพิษณุโลก อุตรดิถ์โดยภาพรวมอยู่ในระดับน้อย เมื่อพิจารณารายด้าน พบว่า ด้านที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุด คือ ความอ่อนล้าทางอารมณ์ อยู่ในระดับน้อยและด้านที่มีค่าเฉลี่ยต่ำสุด คือ ด้านการลดความสำเร็จส่วนบุคคล อยู่ในระดับน้อย 3)ผลการศึกษาความสัมพันธ์ของปจัยการเสิมสร้างพลังอำนาจของผู้บริหารสถานศึกษากับภาวหมดไฟในการทำงานของครูผู้ชวยสังกัดสำนักงานเขตพ้ืนที่การศึกษามัธยมศึกษาพิษณุโลก อุตรดิตถ์ พบว่า มีความสัมพันธ์เชิงลบ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 โดยมีค่าสัมประสิทธิ์สัมพันธ์อยู่ระหว่าง -0.198 ถึง -0.สังกัดสำนักงานเขตพ้ืนที่การศึกษามัธยมศึกษาพิษณุโลก อุตรดิตถ์ พบว่า การสนับสนุนให้มีความรู้และทษกะ(X3) การส่งเสริมให้มีโอกาสก้าวหน้า (X4) และการจัดสรทรัพยากร (X1) สามารถร่วมกันอธิบายภาวะหมดไฟในากรทำงานของครูผู้ช่วยสังกัดสำนักงานเขตพ้ืนที่การศึกษามัธยมศึกษาพิษณุโลก อุตรดิตถ์ (y) ได้อย่างมีนัยสําคัญาทงสถิติที่ระดับ .05 โดยมี่คาอำนาจการพยากรณ์ได้ร้อยละ 41.40 สามารถเขียนสมการพยากรณ์ในรูปคะแนนดิบและคะแนนมาตรฐนาตามลำดับ ดังนี้ สมการพยากรณ์ในรูปคะแนดบิ = 5.021 - 0.330X3 - 0.231X4 - 0.204X1 สมการพยากรณ์ในรูปคะแนมาตรฐาน y = - 0.377Zx3 - 0.235Zx4 - 0.213Zx1สรุปผล:การเสิมสร้างพลังอำนาจของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนกังานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาพิษณุลโก อุตรดิตถ์ ทุลัปจัยยอู่ในระดับมา และภาวะหมดไฟในารทำงนาของครูผู้่วยสังกัดสำนักงานเขตพ้ืนที่การศึกษามัธยมศึกษาพิษณุโลก อุตรดิตถ์ โดยภาพรวมอยู่ในระดับน้อย ทั้งยังบว่าตัวแปรมีความสัมพันธ์เชิงลบ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และปัจจัยการสนับสนุนให้มีความรู้และทักษะ การส่งเสริมให้มีโอกาสก้าวหน้า และการจัดสรทรัพยากร สามารถร่วมกันอธิบายภาวะหมดไฟในการทงำานของครูผู้ชวยสังกัดสำนักงานเขตพ้ืนที่การศึกษามัธยมศึกษาพิษณุโลก อุตรดิตถ์ ได้อย่างมีนัยสําคัญทางสถิตที่ระดับ .05 โดยมี่คาอำนาจการพยากรณ์ได้รอยละ 41.40
本文章由计算机程序翻译,如有差异,请以英文原文为准。
求助全文
约1分钟内获得全文 求助全文
来源期刊
自引率
0.00%
发文量
0
×
引用
GB/T 7714-2015
复制
MLA
复制
APA
复制
导出至
BibTeX EndNote RefMan NoteFirst NoteExpress
×
提示
您的信息不完整,为了账户安全,请先补充。
现在去补充
×
提示
您因"违规操作"
具体请查看互助需知
我知道了
×
提示
确定
请完成安全验证×
copy
已复制链接
快去分享给好友吧!
我知道了
右上角分享
点击右上角分享
0
联系我们:info@booksci.cn Book学术提供免费学术资源搜索服务,方便国内外学者检索中英文文献。致力于提供最便捷和优质的服务体验。 Copyright © 2023 布克学术 All rights reserved.
京ICP备2023020795号-1
ghs 京公网安备 11010802042870号
Book学术文献互助
Book学术文献互助群
群 号:481959085
Book学术官方微信