{"title":"การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง กฎหมายแรงงาน ของนักศึกษาสาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์ ชั้นปีที่ 3 ระหว่างวิธีการสอนแบบกลุ่มเพื่อนช่วยเพื่อนกับวิธีการสอนแบบบรรยาย","authors":"ชลิดา แสนวิเศษ","doi":"10.60027/iarj.2024.276597","DOIUrl":null,"url":null,"abstract":"ภูมิหลังและวัตถุประสงค์: การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนในเรื่องกฎหมายแรงงานเป็นสิ่งสำคัญและจำเป็นสำหรับผู้เรียนที่เกี่ยวข้องกับกฎหมาย การนำกิจกรรมการเรียนการสอนแบบเพื่อนช่วยเพื่อนมาใช้ในการเรียนการสอน จะช่วยให้ผู้เรียนเข้าใจเนื้อหาและส่งผลให้ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงขึ้นได้ การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง กฎหมายแรงงาน ของนักศึกษาสาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์ ชั้นปีที่ 3 ระหว่างวิธีการสอนแบบกลุ่มเพื่อนช่วยเพื่อนกับวิธีการสอนแบบบรรยาย และเพื่อศึกษาความพึงพอใจของนักศึกษาสาขาวิชา รัฐประศาสนศาสตร์ ชั้นปีที่ 3 หลังการใช้วิธีการสอนแบบกลุ่มเพื่อนช่วยเพื่อน\nระเบียบวิธีการวิจัย: การวิจัยนี้เป็นการวิจัยกึ่งทดลอง แบบแผนการวิจัยแบบสองกลุ่มมีการทดสอบก่อนและหลังการทดลอง กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ได้แก่ นักศึกษาสาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์ ภาคเรียนที่ 2/2566 รายวิชา รป 2208304 การจัดการแรงงานสัมพันธ์ จำนวน 106 คน 2 ห้องเรียนโดยกำหนดให้ห้องเรียนที่ 1 เป็นกลุ่มทดลอง และกำหนดให้ห้องเรียนที่ 2 เป็นกลุ่มควบคุม เครื่องมือที่ใช้ประกอบด้วย แผนการสอนแบบกลุ่มเพื่อนช่วยเพื่อน แผนการสอนแบบบรรยาย แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน และแบบสอบถามความพึงพอใจ สถิติที่ใช้ ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบค่า t แบบ Independent\nผลการวิจัย: 1) นักศึกษาที่ได้รับการสอนแบบกลุ่มเพื่อนช่วยเพื่อนกับนักศึกษาที่ได้รับการสอนแบบบรรยายคะแนนหลังเรียนแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 2) นักศึกษาสาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์ ชั้นปีที่ 3 หลังการใช้กิจกรรมแบบกลุ่มเพื่อนช่วยเพื่อนโดยรวมมีคะแนนเฉลี่ยอยู่ในระดับมากที่สุด\nสรุปผล: จากผลการวิจัยนี้แสดงให้เห็นว่าการจัดกิจกรรมแบบเพื่อนช่วยเพื่อนด้วยรูปแบบ (Classwide-peer Tutoring) โดยการการจับคู่ (One-to-One Tutoring) ช่วยให้นักศึกษาพัฒนาการเรียนและส่งผลให้ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงขึ้นอีกทั้งจากผลการสอบถามพึงพอใจนักศึกษามีระดับความพึงพอใจระดับมากที่สุดในทุกด้าน","PeriodicalId":505621,"journal":{"name":"Interdisciplinary Academic and Research Journal","volume":"47 9","pages":""},"PeriodicalIF":0.0000,"publicationDate":"2024-07-02","publicationTypes":"Journal Article","fieldsOfStudy":null,"isOpenAccess":false,"openAccessPdf":"","citationCount":"0","resultStr":null,"platform":"Semanticscholar","paperid":null,"PeriodicalName":"Interdisciplinary Academic and Research Journal","FirstCategoryId":"1085","ListUrlMain":"https://doi.org/10.60027/iarj.2024.276597","RegionNum":0,"RegionCategory":null,"ArticlePicture":[],"TitleCN":null,"AbstractTextCN":null,"PMCID":null,"EPubDate":"","PubModel":"","JCR":"","JCRName":"","Score":null,"Total":0}
引用次数: 0
การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง กฎหมายแรงงาน ของนักศึกษาสาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์ ชั้นปีที่ 3 ระหว่างวิธีการสอนแบบกลุ่มเพื่อนช่วยเพื่อนกับวิธีการสอนแบบบรรยาย
ภูมิหลังและวัตถุประสงค์:การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนในเรื่องกฎหมายแรงานเป็นสิ่งสำคัญและจำเป็นสำหรับผู้เรียนที่เกี่ยวขอ้งกับกฎหมาย การนำกจิกรรมการเรียนการสอนแบบเพื่อนช่วยเพือนมาใช้ในการเรียนการสอนจะช่วยให้ผู้เรียนเข้าใจเนือหาและส่งผลให้ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงขึนได้ การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพือเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเรือง กฎหมายแรงงาน ของนักศึกษาสาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์ ชั้นปีที่ 3 ระห่วางวิธีการสอนแบบลุ่มเพื่อนช่วยเพือนกับวิธีการสอนแบบรยายและเพื่ศึกษาความพึงพอใจของนักศึกษาสาขวิชา รัฐประศาสนศาสตร์ ชั้นปีที่ 3 หลังการใช้วิธีการสอนแบบกลุ่มเพื่อนช่วยเพื่อนระเบียบวิธีการวิจัย:การวัยนี้เป็นการวจัยกึ่งทดลอง แบแบผนการวจัยแบสองกลุ่มมีการทดสอบก่อน แมตัวอย่างที่ใช้ได้แก่นักศึษาสาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์ ภาคเรียนที่ 2/2566 รายวิชา รป 2208304 การจัดการแรงานสัมพันธ์ จำนวน 106 คน 2 ห้องเรียนโดยกำหนให้องเรียนที่ 1 เป็นกลุ่มทดลอง2 เป็นกลุ่มควบคุม เครืองมืทีใช้ประกอบด้วย แผนการสอนแบบกลุ่มเพือนช่วยเพือน แผนการสอนแบบรรยายแบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน และแบสอบถามความพึงพอใจ สถิติที่ใช้ ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบค่า t แบบ Independentผลการวิจัย:1) นักศึษาที่ได้รับารสอนแบกลุ่มเพ่อือนเชวยเพอือนกับนักศึษาที่ได้รับารสอนแบบรรยายคะแนหางเรียนแตตางกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดบั .05 2) นักศึษาสาขาวิชารัฐประศาสนศาสต์ ชั้นปีที่ 3 หาลังการใช้ิกจรมแบบกลุ่มเพื่อนช่วยเพื่อนโดยรวมีคะแนเฉลี่ยอยู่ในระดับมกที่สุดสรุปผล:จากผลารวิจัยนี้แสดงใหาการจัดมแบเพื่อนช่วยเพื่อนด้วยรูปแบบ (Classwide-peer Tutoring) โดยการการจับคู่ (One-to-一对一辅导) ช่วยใหนักศึกษาพัฒนากรเียนและสางผลให้ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงึข้ผลากรสมฤทธิ์ทางการเรียนสมศทธิ์ทางการเรียนสูงึข้ผลากรสมถามพึงพอใจันกศึกษารมฤทธิ์ทางกอใจระดบัมากที่สุดในทุกด้าน
本文章由计算机程序翻译,如有差异,请以英文原文为准。