รูปแบบการบริหารจัดการคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาระดับห้องเรียนโรงเรียนแวงใหญ่วิทยาคม สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาขอนแก่น

วัชระ คงแสนคำ
{"title":"รูปแบบการบริหารจัดการคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาระดับห้องเรียนโรงเรียนแวงใหญ่วิทยาคม สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาขอนแก่น","authors":"วัชระ คงแสนคำ","doi":"10.60027/iarj.2024.276197","DOIUrl":null,"url":null,"abstract":"ภูมิหลังและวัตถุประสงค์: การวิจัยรูปแบบการบริหารจัดการคุณภาพและมาตรฐานการศึกษา ระดับห้องเรียน โรงเรียนแวงใหญ่วิทยาคม สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาขอนแก่น เพื่อนำมาใช้ในพัฒนาและส่งเสริมการจัดการเรียนรู้ของครูผู้สอน พร้อมการจัดการเรียนรู้อย่างเป็นระบบ และมีมาตรฐานการจัดการศึกษา ระดับห้องเรียน เพื่อให้เกิดประโยชน์ต่อผู้เรียนมากที่สุด มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาสภาพปัญหา สาเหตุของปัญหาและแนวทางแก้ปัญหาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนโรงเรียนแวงใหญ่ 2) ศึกษาความต้องการจำเป็นของการบริหารจัดการคุณภาพและมาตรฐานการศึกษา ระดับห้องเรียน โรงเรียนแวงใหญ่วิทยาคม 3) พัฒนารูปแบบการบริหารจัดการคุณภาพและมาตรฐานการศึกษา ระดับห้องเรียน โรงเรียนแวงใหญ่ และ 4) ศึกษาผลการทดลองใช้รูปแบบการบริหารจัดการคุณภาพและมาตรฐานการศึกษา ระดับห้องเรียน โรงเรียนแวงใหญ่วิทยาคม\nระเบียบวิธีการวิจัย: การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยปฏิบัติการ (Operations Research) ประชากร ได้แก่ ครู จำนวน 41 คน และนักเรียน จำนวน 603 คน โรงเรียนแวงใหญ่วิทยาคม ปีการศึกษา 2561-2563 เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ 1) แบบบันทึกผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน 2) แบบสอบถามสภาพปัจจุบันและสภาพที่พึงประสงค์ 3) แบบสัมภาษณ์เกี่ยวกับการบริหารจัดการ 4) แบบประเมินความเหมาะสมและความเป็นไปได้ของรูปแบบ 5) คู่มือการบริหารจัดการคุณภาพและมาตรฐานการศึกษา ระดับห้องเรียน 6) แบบประเมินผลการพัฒนาการบริหารจัดการคุณภาพและมาตรฐานการศึกษา และ 7) แบบสอบถามความพึงพอใจ สถิติที่ใช้ ได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย และค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน\nผลการวิจัย: (1) ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนต่ำ โดยแนวทางแก้ปัญหาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียน ประกอบด้วยการส่งเสริมด้านการพัฒนาหลักสูตรและการจัดการเรียนการสอน ด้านการพัฒนาครูและบุคลากร ด้านการพัฒนาคุณภาพผู้เรียน และด้านการบริหารจัดการและการนำองค์กรแบบมีส่วนร่วม (2) สภาพปัจจุบันของการบริหารจัดการคุณภาพและมาตรฐานการศึกษา ระดับห้องเรียน โดยรวมอยู่ในระดับปานกลาง และสภาพที่พึงประสงค์ในการพัฒนาการบริหารจัดการคุณภาพและมาตรฐานการศึกษา ระดับห้องเรียน โดยรวมอยู่ในระดับมากที่สุด โดยดัชนีความต้องการจำเป็นในการพัฒนาการบริหารจัดการคุณภาพและมาตรฐานการศึกษา ระดับห้องเรียน คือ 0.55 (PNImodified= 0.55) (3) รูปแบบการพัฒนาการบริหารจัดการคุณภาพและมาตรฐานการศึกษา ประกอบด้วย 5 องค์ประกอบ ได้แก่ 1) หลักการและเหตุผล 2) วัตถุประสงค์ 3) องค์ประกอบการบริหารจัดการคุณภาพและมาตรฐานการศึกษา 4) วิธีการดำเนินงานของรูปแบบ 5) การวัดและประเมินผล โดยรูปแบบมีความเหมาะสมโดยรวมอยู่ในระดับมากที่สุด มีความเป็นไปได้ของรูปแบบโดยรวมอยู่ในระดับมากที่สุด และมีความเป็นประโยชน์ของรูปแบบโดยรวมอยู่ในระดับมากที่สุด และ (4) ผลการทดลองใช้รูปแบบการพัฒนาการบริหารจัดการคุณภาพและมาตรฐานการศึกษา พบว่า 1) ผลการบริหารจัดการคุณภาพและมาตรฐานการศึกษา หลังการทดลองอยู่ในระดับมากที่สุด สูงกว่าก่อนการทดลอง โดยรวมอยู่ในระดับปานกลาง 2) ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน 8 กลุ่มสาระการเรียนรู้ พบว่าหลังการทดลองใช้รูปแบบรูปแบบการพัฒนาการบริหารจัดการคุณภาพและมาตรฐานการศึกษามีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงกว่าก่อนการทดลอง และ 3) ความพึงพอใจที่มีต่อรูปแบบการพัฒนาการบริหารจัดการคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาโดยรวมอยู่ในระดับมากที่สุด\nสรุปผล: ผลการวิจัยสรุปได้ว่า รูปแบบการพัฒนาการบริหารจัดการคุณภาพและมาตรฐานการศึกษา ที่พัฒนาขึ้นมีองค์ประกอบและวิธีการดำเนินการเพื่อพัฒนาการบริหารจัดการคุณภาพและมาตรฐานการศึกษา ที่เหมาะสมชัดเจน ส่งผลให้ครูและบุคลากรได้รับการพัฒนาอย่างต่อเนื่องเพื่อให้มีความพร้อมในการดำเนินกิจกรรมการพัฒนาคุณภาพผู้เรียน","PeriodicalId":505621,"journal":{"name":"Interdisciplinary Academic and Research Journal","volume":"30 5","pages":""},"PeriodicalIF":0.0000,"publicationDate":"2024-07-02","publicationTypes":"Journal Article","fieldsOfStudy":null,"isOpenAccess":false,"openAccessPdf":"","citationCount":"0","resultStr":null,"platform":"Semanticscholar","paperid":null,"PeriodicalName":"Interdisciplinary Academic and Research Journal","FirstCategoryId":"1085","ListUrlMain":"https://doi.org/10.60027/iarj.2024.276197","RegionNum":0,"RegionCategory":null,"ArticlePicture":[],"TitleCN":null,"AbstractTextCN":null,"PMCID":null,"EPubDate":"","PubModel":"","JCR":"","JCRName":"","Score":null,"Total":0}
引用次数: 0

Abstract

ภูมิหลังและวัตถุประสงค์: การวิจัยรูปแบบการบริหารจัดการคุณภาพและมาตรฐานการศึกษา ระดับห้องเรียน โรงเรียนแวงใหญ่วิทยาคม สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาขอนแก่น เพื่อนำมาใช้ในพัฒนาและส่งเสริมการจัดการเรียนรู้ของครูผู้สอน พร้อมการจัดการเรียนรู้อย่างเป็นระบบ และมีมาตรฐานการจัดการศึกษา ระดับห้องเรียน เพื่อให้เกิดประโยชน์ต่อผู้เรียนมากที่สุด มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาสภาพปัญหา สาเหตุของปัญหาและแนวทางแก้ปัญหาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนโรงเรียนแวงใหญ่ 2) ศึกษาความต้องการจำเป็นของการบริหารจัดการคุณภาพและมาตรฐานการศึกษา ระดับห้องเรียน โรงเรียนแวงใหญ่วิทยาคม 3) พัฒนารูปแบบการบริหารจัดการคุณภาพและมาตรฐานการศึกษา ระดับห้องเรียน โรงเรียนแวงใหญ่ และ 4) ศึกษาผลการทดลองใช้รูปแบบการบริหารจัดการคุณภาพและมาตรฐานการศึกษา ระดับห้องเรียน โรงเรียนแวงใหญ่วิทยาคม ระเบียบวิธีการวิจัย: การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยปฏิบัติการ (Operations Research) ประชากร ได้แก่ ครู จำนวน 41 คน และนักเรียน จำนวน 603 คน โรงเรียนแวงใหญ่วิทยาคม ปีการศึกษา 2561-2563 เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ 1) แบบบันทึกผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน 2) แบบสอบถามสภาพปัจจุบันและสภาพที่พึงประสงค์ 3) แบบสัมภาษณ์เกี่ยวกับการบริหารจัดการ 4) แบบประเมินความเหมาะสมและความเป็นไปได้ของรูปแบบ 5) คู่มือการบริหารจัดการคุณภาพและมาตรฐานการศึกษา ระดับห้องเรียน 6) แบบประเมินผลการพัฒนาการบริหารจัดการคุณภาพและมาตรฐานการศึกษา และ 7) แบบสอบถามความพึงพอใจ สถิติที่ใช้ ได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย และค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิจัย: (1) ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนต่ำ โดยแนวทางแก้ปัญหาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียน ประกอบด้วยการส่งเสริมด้านการพัฒนาหลักสูตรและการจัดการเรียนการสอน ด้านการพัฒนาครูและบุคลากร ด้านการพัฒนาคุณภาพผู้เรียน และด้านการบริหารจัดการและการนำองค์กรแบบมีส่วนร่วม (2) สภาพปัจจุบันของการบริหารจัดการคุณภาพและมาตรฐานการศึกษา ระดับห้องเรียน โดยรวมอยู่ในระดับปานกลาง และสภาพที่พึงประสงค์ในการพัฒนาการบริหารจัดการคุณภาพและมาตรฐานการศึกษา ระดับห้องเรียน โดยรวมอยู่ในระดับมากที่สุด โดยดัชนีความต้องการจำเป็นในการพัฒนาการบริหารจัดการคุณภาพและมาตรฐานการศึกษา ระดับห้องเรียน คือ 0.55 (PNImodified= 0.55) (3) รูปแบบการพัฒนาการบริหารจัดการคุณภาพและมาตรฐานการศึกษา ประกอบด้วย 5 องค์ประกอบ ได้แก่ 1) หลักการและเหตุผล 2) วัตถุประสงค์ 3) องค์ประกอบการบริหารจัดการคุณภาพและมาตรฐานการศึกษา 4) วิธีการดำเนินงานของรูปแบบ 5) การวัดและประเมินผล โดยรูปแบบมีความเหมาะสมโดยรวมอยู่ในระดับมากที่สุด มีความเป็นไปได้ของรูปแบบโดยรวมอยู่ในระดับมากที่สุด และมีความเป็นประโยชน์ของรูปแบบโดยรวมอยู่ในระดับมากที่สุด และ (4) ผลการทดลองใช้รูปแบบการพัฒนาการบริหารจัดการคุณภาพและมาตรฐานการศึกษา พบว่า 1) ผลการบริหารจัดการคุณภาพและมาตรฐานการศึกษา หลังการทดลองอยู่ในระดับมากที่สุด สูงกว่าก่อนการทดลอง โดยรวมอยู่ในระดับปานกลาง 2) ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน 8 กลุ่มสาระการเรียนรู้ พบว่าหลังการทดลองใช้รูปแบบรูปแบบการพัฒนาการบริหารจัดการคุณภาพและมาตรฐานการศึกษามีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงกว่าก่อนการทดลอง และ 3) ความพึงพอใจที่มีต่อรูปแบบการพัฒนาการบริหารจัดการคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาโดยรวมอยู่ในระดับมากที่สุด สรุปผล: ผลการวิจัยสรุปได้ว่า รูปแบบการพัฒนาการบริหารจัดการคุณภาพและมาตรฐานการศึกษา ที่พัฒนาขึ้นมีองค์ประกอบและวิธีการดำเนินการเพื่อพัฒนาการบริหารจัดการคุณภาพและมาตรฐานการศึกษา ที่เหมาะสมชัดเจน ส่งผลให้ครูและบุคลากรได้รับการพัฒนาอย่างต่อเนื่องเพื่อให้มีความพร้อมในการดำเนินกิจกรรมการพัฒนาคุณภาพผู้เรียน
รูปแบบการบริหารจัดการคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาระดับห้องเรียนโรงเรียนแวงใหญ่วิทยาคม สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาขอนแก่น
ภูมิหลังและวัตถุประสงค์:การวิจัยรูปแบบการบริหารจัดการคุณภาพและมาตรฐานการศึกษา ระดับห้องเรียน โรงเรียนแวงใหญ่วิทยาคม สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาขอนแก่น เพื่อนำมาใช้ในพัฒนาและส่งเสริมการจัดการเรียนรู้ของครูผู้สอนพร้อมการจัดการเรียนรู้อย่างเป็นระบบ และมีมาตรฐานการจัดการศึกษา ระดับห้อเรียน เพื่อให้เกดิประโยชน์ต่อผู้เรียนากที่สุด มีวัตถ↩ุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาสภาพปัญหาสาเหตุของปัญหาและแนวทางแก้ปัญหาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนโรงเรียนแวงใหญ่ 2) ศึกษาความต้องการจำเป็นของการบริหารจัดการคุณภาพและมาตรฐานการศึกษา ระดับห้องเรียน โรงเรียนแวงใหญ่วิทยาคม 3)พัฒนารูปแบการบจัดการคุณภาพและมตารฐานการศึกษา ระดับห้งเรียนแวงใหญ่ และ 4)ศึกษาผลการทดลองใช้รูปแบารบิหารจัดการคุณภาพและมาตรฐานการศึกษา ระดับห้องเรียน โรงเรียนแวงใหารญ่วิทยาคมระเบียบวิธีการวจั:运筹学) ประชากร ได้แก่ ครู จำนวน 41 คน และนักเรียน จำนวน 603 คน โรงเรียนแวงใหญ่วิทยาคม ปีการศึษกา 2561-2563 เครืองมอที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ 1) แบบันทึกผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน 2) แบบสอบถามสภาพปัจจจุบันและสภาพที่พึงประสงค์3) แบบสัมภาษณ์เกี่ยวกับการบริหารจัดการ 4) แบบประเมินความเหมาะสมและความเป็นไปดไ้ของรูปแบ 5)เด็กเจัดากรรุณภาพและาตรฐานการศึกษา เรียน 6) แบประเมินผการรัพฒนาการบริหารจัดากรคุณภาพและมาตรฐานการศึกษา(7) แบบสอบถามความพึงพอใจ สถิติที่ใช้ ได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย และค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานผลการวิจัย:(1) เE1C↩ลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนต่ำ โดยแนวทางแก้ปัญหาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนประกอบด้วยการส่งเสริมด้านการพัฒนาหาลักสูตรและการจัดการเรียนการสอน ด้านการพัฒนาครูและบุคลานการพัฒนาคุณภาพผู้เรียน และด้านการบริหารจัดการและการนำองค์กรแบมสี่วนร่วม (2)ภาพปัจจุบันของการบริหารจัดการคุณภาพและมาตรฐานการศึกษา ระดับหอ้งเรียน โดยรวมอยู่ในระดับปนากลาง และสภาพที่พึงประสงค์ในการพัฒนาการบริหารจัดการคุณภาพและมาตรฐานการศึษาระดับห้องเรียน โดยรวมอยู่ในระดับมากที่สุด โดยดัชนีความต้องการจำเป็นในการพัฒนาการรบริหารจัดการคุณภาพและมาตรฐานการศึกษา ระดับห้องเรียน คอื 0.55 (PNImodified= 0.55) (3) รูปแบบการพัฒนาการบริหาจัดการคุณภาพและมาตรฐานการศึกษา ประกอบด้วย 5 องค์ประกอบ ได้แก่ 1) หลักการและเหตุผล 2)3) วัตถปรุตศึกษา 4) วิธีการดำเนินงานของรูปแบ 5) การวัดแยประเมินผลโดยรูปแบมีความเหมาะสมโดยรวมอยู่ในระดับมากที่สุด มีความเป็นไปด้ของรูปแบบโดยรวมอยู่ในระดับมากที่สุดและมีควาเป็นประโยชน์ของรูปบบโดยรวมอยู่ในระดับมากที่สุด และ (4) ผการทดลองใช้รูปแบบการพัฒนาการบริหารจัดการคุณภาพและมาตรฐานการศกษาพบว่า 1) ผลการบริหารจัดการคุณภาพและมาตรฐานการศึกษา หลังการทดลองอยู่ในระดับมากที่สุด สูงกว่าก่อนการทดลอง โดยรวมอยู่ในระดับปานกลาง 2) ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน 8 กลุ่มสาระการเรียนรู้เด็กเด็กเE43↩ชรูปแบรูแปบบารพัฒนาการบริหารจัดการคุณภาพและมาตรฐานการศึกษามีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงกว่าก่อนการทดลองและ 3)ความพึงพอใจี่มที่ีต่อรนปแบารพัฒนาการบริหารจัดการคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาโดยรวมอยู่ใระดับมากที่สุผล:ผณภาพและมาตรฐานการศ↩ึกษา ที่พัฒนาขึ้นมีงอค์ประกอบและวิธีการดำเนินการเพือพัฒนาการณภาพและมาตรฐานการศ↩ึกษา ที่พัฒนาขึ้นมีงอค์ประกอบและวิธีการดำเนินการเพือพัฒนาการณภาพและมาตรฐานการศ↩ึกษาที่เหาะสมชัดเจน ส่งผลให้ครูและบุคลากรฒนาอย่างต่อเนื่องเพื่อให้ีความพร้อมในารดำเนินกจกรรมการพัฒนาคุณภาพผู้เรียน
本文章由计算机程序翻译,如有差异,请以英文原文为准。
求助全文
约1分钟内获得全文 求助全文
来源期刊
自引率
0.00%
发文量
0
×
引用
GB/T 7714-2015
复制
MLA
复制
APA
复制
导出至
BibTeX EndNote RefMan NoteFirst NoteExpress
×
提示
您的信息不完整,为了账户安全,请先补充。
现在去补充
×
提示
您因"违规操作"
具体请查看互助需知
我知道了
×
提示
确定
请完成安全验证×
copy
已复制链接
快去分享给好友吧!
我知道了
右上角分享
点击右上角分享
0
联系我们:info@booksci.cn Book学术提供免费学术资源搜索服务,方便国内外学者检索中英文文献。致力于提供最便捷和优质的服务体验。 Copyright © 2023 布克学术 All rights reserved.
京ICP备2023020795号-1
ghs 京公网安备 11010802042870号
Book学术文献互助
Book学术文献互助群
群 号:481959085
Book学术官方微信