{"title":"ผลการจัดการเรียนรู้โดยใช้ปรากฏการณ์เป็นฐานเพื่อเสริมสร้างทักษะชีวิตของเด็กปฐมวัย","authors":"วรินทร แสงแดง, เพ็ญศรี แสวงเจริญ, อรพรรณ บุตรกตัญญู","doi":"10.60027/iarj.2024.276694","DOIUrl":null,"url":null,"abstract":"ภูมิหลังและวัตถุประสงค์: การเตรียมความพร้อมของเด็กปฐมวัยคือการพัฒนา และส่งเสริมให้เด็กได้ฝึกทักษะชีวิตที่จำเป็น ให้เด็กสามารถจัดการกับความต้องการ และสิ่งท้าทายต่าง ๆ ในชีวิตประจำวันได้อย่างมีประสิทธิภาพ ทักษะชีวิตยังรวมถึงความสามารถในการอยู่ร่วมกับผู้อื่นได้ด้วย การเสริมสร้างทักษะชีวิตให้กับเด็กปฐมวัยจึงควรได้รับการปลูกฝังและสร้างเสริมตั้งแต่เด็ก การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบทักษะชีวิตของเด็กปฐมวัยก่อนและหลังการจัดการเรียนรู้โดยใช้ปรากฏการณ์เป็นฐาน\nระเบียบวิธีการวิจัย: กลุ่มตัวอย่างในการศึกษาครั้งนี้เป็นเด็กปฐมวัย ชาย - หญิง อายุ 4 – 5 ปี ที่กำลังศึกษาอยู่ในระดับชั้นอนุบาลปีที่ 2 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2566 โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา (ปฐมวัย) จังหวัดกรุงเทพมหานคร จำนวน 15 คน เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษาประกอบด้วยแผน การจัดประสบการณ์การเรียนรู้โดยใช้ปรากฏการณ์เป็นฐานเพื่อเสริมสร้างทักษะชีวิตของเด็กปฐมวัย และแบบประเมินทักษะชีวิตของเด็กปฐมวัย วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าร้อยละ t-test (dependent sample) และการวิเคราะห์เนื้อหา\nผลการวิจัย: ผลการศึกษาพบว่าเด็กปฐมวัยที่ได้รับการจัดการเรียนรู้โดยใช้ปรากฏการณ์เป็นฐาน มีคะแนนเฉลี่ย ทักษะชีวิตหลังการทดลองสูงกว่าก่อนการทดลอง โดยก่อนการทดลองมีคะแนนเฉลี่ย 10.53 ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน 4.81 และหลังการทดลองมีคะแนนเฉลี่ย 25.13 ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน 3.04 คะแนนเฉลี่ยทักษะชีวิตของเด็กปฐมวัยหลังการจัดการเรียนรู้โดยใช้ปรากฏการณ์เป็นฐานสูงขึ้นอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ผลการประเมินรายด้าน คือ ด้านการคิดวิเคราะห์ ด้านการตัดสินใจ ด้านการแก้ปัญหา และด้านการสื่อสาร พบว่าคะแนนเฉลี่ยระดับทักษะชีวิตของเด็กปฐมวัยก่อนการทดลองส่วนใหญ่อยู่ในระดับควรพัฒนา คิดเป็นร้อยละ 80.00 รองลงมา คือ มีทักษะชีวิตระดับพอใช้ คิดเป็นร้อยละ 20.00 และหลังการทดลองทักษะชีวิตของเด็กปฐมวัยส่วนใหญ่ อยู่ในระดับดีมาก คิดเป็นร้อยละ 80.00 รองลงมา คือ มีทักษะชีวิตระดับปานกลาง คิดเป็นร้อยละ 13.33 และระดับดี คิดเป็นร้อยละ 6.67 ตามลำดับ คะแนนเฉลี่ยระดับทักษะชีวิตหลังการทดลองสูงกว่าก่อนการทดลองอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ทั้ง 4 ด้าน ซึ่งจากผลการศึกษาในครั้งนี้มีข้อเสนอแนะ ดังต่อไปนี้ 1) ผู้บริหารควรส่งเสริมให้ มีการจัดบรรยากาศในโรงเรียนที่เอื้อต่อการพัฒนาทักษะชีวิตของเด็กปฐมวัย 2) ครูหรือบุคลากรที่เกี่ยวข้อง จัดกิจกรรมที่ส่งเสริมทักษะชีวิตของเด็กปฐมวัยอย่างต่อเนื่อง ทั้งในการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ และ ในการปฏิบัติกิจวัตรประจำวัน และ 3) โรงเรียนจัดโครงการให้ความรู้ผู้ปกครองเกี่ยวกับการฝึกทักษะชีวิต ให้กับเด็กปฐมวัยอย่างสม่ำเสมอเมื่ออยู่ที่บ้าน\nสรุปผล: ผลการศึกษาชี้ให้เห็นว่าการใช้การจัดการเรียนรู้ตามปรากฏการณ์ในวัยเด็กช่วยพัฒนาทักษะชีวิตได้อย่างมาก สิ่งนี้แสดงให้เห็นได้จากคะแนนเฉลี่ยที่เพิ่มขึ้นอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติหลังการทดลองในทุกด้านที่ได้รับการประเมิน ขอแนะนำให้สร้างสภาพแวดล้อมการเรียนรู้ที่สนับสนุนในโรงเรียน กิจกรรมสร้างทักษะชีวิตอย่างต่อเนื่อง และจัดโปรแกรมการศึกษาสำหรับผู้ปกครองเกี่ยวกับการฝึกทักษะชีวิตในวัยเด็กที่บ้านเป็นประจำ","PeriodicalId":505621,"journal":{"name":"Interdisciplinary Academic and Research Journal","volume":"24 12","pages":""},"PeriodicalIF":0.0000,"publicationDate":"2024-07-02","publicationTypes":"Journal Article","fieldsOfStudy":null,"isOpenAccess":false,"openAccessPdf":"","citationCount":"0","resultStr":null,"platform":"Semanticscholar","paperid":null,"PeriodicalName":"Interdisciplinary Academic and Research Journal","FirstCategoryId":"1085","ListUrlMain":"https://doi.org/10.60027/iarj.2024.276694","RegionNum":0,"RegionCategory":null,"ArticlePicture":[],"TitleCN":null,"AbstractTextCN":null,"PMCID":null,"EPubDate":"","PubModel":"","JCR":"","JCRName":"","Score":null,"Total":0}
引用次数: 0
ผลการจัดการเรียนรู้โดยใช้ปรากฏการณ์เป็นฐานเพื่อเสริมสร้างทักษะชีวิตของเด็กปฐมวัย
ภูมิหลังและวัตถุประสงค์:การเตรียมความพร้อมของเด็กปฐมวัยืคอการพัฒนา และส่งเสริมให้เด็กได้ฝึกทักษชีวิตที่จำเป็น ให้เด็กสามารถจัดากรับความต้องการและสิ่งท้าทายต่าง ๆ ในชีวิตประจำวันได้อย่างมีประสิทธิภาพ ทักษะชีวิยตังรวมถ↩ึงความสามารถในการอยู่ร่วมกับผู้อื่นได้ยวการเสิมสร้างทักษะชีวิตให้กับเด็กปฐมวัยจึงควรได้รับการปลูกอยการศ ึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อเเปรียบเทียบทักษะชีวิตของเด็กปฐมวัยก่อนและหางการรัยจันี้ารนี้ารนี้ารนี้ารนี้ารนี้ารนี้ารนี้ารนี้ารนี้าวิจัย:กลุ่มตัวอย่างในากรศึกษาครั้งีน้เป็นเด็กปฐมวัย ชาย-หายุ 4 - 5 ปี ที่กำลังศึกษาอยู่ในระดับชั้นอนุบาลปีที่ 2 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2566สาธิตมหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา (ปฐมวัย) จังหวัดกรุงเทพมหานคร จำนวน 15 คน เครื่ออืงมอที่ใช้ในการศึกษาประกอบด้วยแผนการจัดประสบการณ์การเรียนรู้โดยใช้ปรากฏการณ์เป็นฐานเพื่อเสริมสร้างทักษะชีวิตของเด็กปฐมวัย และแบบประเมินทักษะชีวิตของเด็กปฐมวัย วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าร้อยละ t-检验(因变量样本):ผลากรศึษาพบว่าเด็ปกฐมวัยที่ได้รับการจัดการเรียนรู้โดยใช้ปรากฏการณ์เป็นฐาน มีคะแนเฉลี่ย ทัษกะชีวิตหลังการทดลองสูงกว่ากอนการทดลอง โดยก่อนการทดลองมีคะแนเฉลี่ย 10.53 ส่วนเบี่ยงเมนาตรฐาน 4.81 และหังการทดลงอมีคะแนเฉลี่ย 25.13 ส่วนเบี่ยงเมนาตรฐาน 3.04 เด็กปฐมวัยหลังการจัดการเรียนรู้โดยใชปรากรฏการณ์เป็นฐานสูงขึ้นอย่างมีนยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ผลการประเมินรายด้าน คือ ด้านการคิดวิเคราะห์ ด้านการตัดสินใจ ด้านการแก้ปัญหา และด้านการสื่อสาร พบว่าคะแนนเฉลี่ยระดับทักษะชีวิตของเด็กปฐมวัยก่อนการทดลองส่วนใหญ่อยู่ในระดับควรพัฒนา คิดเป็นร้อยละ 80.00 รองลงมา คือ มีทักษะชีวิตระดับพอใช คิดเป็นร้อยละ 20.00 แลงการทดลองทักษะชีวิตของเด็กปฐมวัยส่วนใหญ่ อยู่ในระดับดีมากคิเดป็นร้อยละ 80.00 รองลงมาคือ มีทักษะชีวิตระดับปนากลาง คิดเป็นร้อยละ 13.33 แบดียน 6.67 ตามลดำับ คะแนเฉลี่ยระดับทักษะชีวิตหลังการทดลองสูงกว่าก่อนการทดลองอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ทั้ง 4 ด้าน ซึ่งจากผลการศึกษาในครั้งนี้มีข้อเสนอแนะ ดังต่อไปนี้ 1) ผู้บริหารควรส่งเสริมให้ มีการจัดบรรยากาศในโรงเรียนที่เอื้อต่อการพัฒนาทักษะชีวิตของเด็กปฐมวัย 2) ครูหรือบุคลากรที่เกี่ยวข้องจัดกิจกรรมที่ส่งเสริมทักษะชีวิขตองเด็กปฐมวัยอย่างต่อเนื่อง ทั้งในการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ และ ในการปฏิบัติกจวัตรประจำวันและ 3) โรงเรียนจัดโครงการให้ความรู้ผู้กปครองเกี่ยวกับการฝึกทัษะชีวิ ตให้กับเด็กปฐมวัยอย่างสม่ำเสอมเมื่อยออยู่ที่บ้านสรุปผล:ผลการศึกษาชี้ใหารจัดการเรียนรู้ตามปรากฏการณ์ในวัยเด็ชก่วยพัฒนาทักษะชีวิชติได้อย่างมากสิ่งนี้แสดงใยสำคัญทางสถจิหางกรทดอในทุด้านที่ยอในทุด้ารับกรประเมินขอแนะนำให้สร้างสภาพแวดล้อมการเรียนรู้ที่สนับสนุนในโรงเรียน กิจกรรมสร้างทักษะชีวิตอย่างต่อเนื่อง และจัดโปรแกรมการศึกษาสำหรับผู้ปกครองเกี่ยวกับการฝึกทักษะชีวิตในวัยเด็กที่บ้านเป็นประจำ
本文章由计算机程序翻译,如有差异,请以英文原文为准。