{"title":"การพัฒนาแอปพลิเคชันบนสมาร์ทโฟน สำหรับเทคนิค 6Ts เพื่อเพิ่มความสามารถในการอ่านโน้ตดนตรีสากลของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4","authors":"ณัฐกานต์ ศรีจันทร์, ฟิสิกส์ ฌอณ บัวกนก, ปราโมทย์ พรหมขันธ์","doi":"10.60027/iarj.2024.275137","DOIUrl":null,"url":null,"abstract":"ภูมิหลังและวัตถุประสงค์: การพัฒนาแอปพลิเคชันบนสมาร์ทโฟน สำหรับเทคนิค 6Ts เพื่อเพิ่มความสามารถในการอ่านโน้ตดนตรีสากลของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อสร้างและหาประสิทธิภาพของแอปพลิเคชันบนสมาร์ทโฟน สำหรับเทคนิค 6Ts เพื่อเพิ่มความสามารถในการอ่านโน้ตดนตรีสากล ของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ให้มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ 80/80 2) เพื่อเปรียบเทียบความสามารถในการอ่านโน้ตดนตรีสากล ของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ที่เรียนด้วยแอปพลิเคชันบนสมาร์ทโฟน โดยใช้เทคนิค 6Ts กลุ่มตัวอย่าง คือ นักเรียนโรงเรียนบุญวาทย์วิทยาลัย จังหวัดลำปาง ในระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ห้อง 8 และห้อง 9 ที่เรียนรายวิชาศิลปศึกษา (ดนตรี) ในภาคเรียนที่ 2 ของปีการศึกษา 2566 จำนวน 60 คน\nระเบียบวิธีการวิจัย: การวิจัยครั้งนี้ใช้การวิจัยเชิงทดลอง (Experimental Research) โดยใช้แบบแผนการทดลองวัดผลหลังการทดลองแบบมีกลุ่มควบคุม (Randommized Control Group Posttest Only Design) เครื่องมือวิจัย ประกอบด้วย 1) แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง การอ่านโน้ตดนตรีสากล 2) แอปพลิเคชันบนสมาร์ทโฟน 3) แบบทดสอบประเมินผลระหว่างการเรียนรู้ 4) แบบทดสอบประเมินผลหลังการเรียนรู้ 5) แบบทดสอบความสามารถในการอ่านโน้ตดนตรีสากล สถิติที่ใช้ได้แก่ ค่าเฉลี่ย (Mean) ร้อยละ (Percentage) ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน(Standard Deviation) การทดสอบทีแบบอิสระต่อกัน (t-test independent test)\nผลการวิจัย: 1) การสร้างและหาประสิทธิภาพของแอปพลิเคชันบนสมาร์ทโฟน สำหรับเทคนิค 6Ts เพื่อเพิ่มความสามารถในการอ่านโน้ตดนตรีสากลของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 มีคุณภาพอยู่ในระดับมากที่สุด เท่ากับ 4.55 และมีประสิทธิภาพแบบหนึ่งต่อหนึ่ง แบบกลุ่มเล็ก และแบบภาคสนาม เท่ากับ 86.67/88.89 81.11/86.67 และ 80.83/85.22 ตามลำดับ เป็นไปตามเกณฑ์กำหนด 2) การเปรียบเทียบความสามารถในการอ่านโน้ตดนตรีสากลระหว่างกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุม พบว่า กลุ่มทดลองมีความสามารถในการอ่านโน้ตดนตรีสากลได้ดีกว่าควบคุม อย่างมีระดับนัยสำคัญทางสถิติที่ 0.05\nสรุปผล: ผลการวิจัยสรุปได้ว่ากลุ่ม แอปพลิเคชันบนสมาร์ทโฟน สำหรับเทคนิค 6Ts มีคุณภาพและประสิทธิภาพ เป็นไปตามเกณฑ์ และเพิ่มความสามารถในการอ่านโน้ตดนตรีสากลของนักเรียนได้","PeriodicalId":505621,"journal":{"name":"Interdisciplinary Academic and Research Journal","volume":"175 S411","pages":""},"PeriodicalIF":0.0000,"publicationDate":"2024-04-08","publicationTypes":"Journal Article","fieldsOfStudy":null,"isOpenAccess":false,"openAccessPdf":"","citationCount":"0","resultStr":null,"platform":"Semanticscholar","paperid":null,"PeriodicalName":"Interdisciplinary Academic and Research Journal","FirstCategoryId":"1085","ListUrlMain":"https://doi.org/10.60027/iarj.2024.275137","RegionNum":0,"RegionCategory":null,"ArticlePicture":[],"TitleCN":null,"AbstractTextCN":null,"PMCID":null,"EPubDate":"","PubModel":"","JCR":"","JCRName":"","Score":null,"Total":0}
引用次数: 0
การพัฒนาแอปพลิเคชันบนสมาร์ทโฟน สำหรับเทคนิค 6Ts เพื่อเพิ่มความสามารถในการอ่านโน้ตดนตรีสากลของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4
ภูมิหลังและวัตถุประสงค์:การพัฒนาแอปพลิเคชันบนสมาร์ทโฟน สำหรับเทคนิค 6Ts เพื่อเพิ่มความสามารถในการอ่านโน้ตดนตรีสากลขงอนัเกรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 มีวัตถุประสงค์ 1)เพื่อสร้างและหาประสิทธิภาพของแอปพลิเคชันบนสมาร์ทโฟน สำหรับเทคนิค 6Ts เพื่อเพิ่มความสามารถในการอ่านโน้ตดนตรีสากล ของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ให้มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ 80/80 2)เพื่อเปรียบเทียบความสามารถในการอ่านโนต้ดนตรีสากล ของนักเรียนระดับชั้มัธยมศึกษาปีที่ 4 ที่เรียนด้วยแอปพลิเชคันบสมาร์ทโฟน โดยใช้เทนิค 6Ts กลุ่มตวอย่า คอืนักเรียนโรงเรียนบุญวาทย์วิทยาลัย จังหวัดลำปาง ในระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ห้อง 8 และห้อง 9 ที่เรียนรายวิชาศิลปศึกษา (ดนตรี) ในภาคเรียนที่ 2 ของปีการศึกษา 2566 จำนวน 60 คนระเบียบวิธีการวิจัย:实验研究) โดยใช้้แบแบแผนการทดลองวัดผนการทดลองวัดผนการทดลองวัดผนการทดลองแบมีกลุ่มควบคุม (Randommized Control组后测设计) เครืองือวจัย ประกอบด้วย 1) แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง การอ่านโน้ตดนตรีสากล 2) แอปพลิเคชันบสมาร์ทโฟน3) แบทดสอบประเมินผลาระหว่างการเรียนรู้ 4) แบทดสอบประเมินผลารเรียนรู้ 5) แบทดสอบความสามารถในการอ่านโน้ตดนตรีสากลสถิติที่ใช้ได้แก่ ค่าเฉลี่ย (平均值) ร้ยอละ (百分比) ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน(Standard Deviation) การทดสอบทีแบบอิสระต่อกัน (t-)独立测试)ผลการวิจัย:1) การสร้างและหาประสิทธิภาพของแอปพลิเคชันบนสมาร์ทโฟน สำหรับเทคนิค 6Ts เพื่อเพิ่มความสามารถในการอ่านโน้ตดนตรีสากลของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 มีคุณภาพอยู่ในระดับมากที่สุด เท่ากับ 4.55 แบดมียประสิทธิภาพแบบหนึงงต่อหนึ่ง แบมลุ่เล็ก แมละแบบภาคสนาม เท่าับ 86.67/88.89 81.11/86.67 แมละ 80.83/85.22 ตามลำดับ เป็นไปตามเกณฑ์กำหนด 2) การเปรียบเทียบความสามารถในการอ่านโน้ตดนตรีสากลระหวางกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุมพบว่า กลุ่มทดลองมีความสามารถในการอ่านโน้ตดนตรีสากลได้ดีกว่าควบคุม อย่างมีระดับันยสำคัญทางสถิติที่ 0.05สรุปผล: ผลากรวิจัยสรุปได้ว่ากลุ่ม แปอพลิเคชันบนสมาร์ทโฟน สำหรับเทคนิค 6Ts มีคุณภาพและประสิทธิภาพ เป็นไปตามเกณฑ์ และเพิ่มควมาสามารถในการอ่านนต้ดนตรีสากของนักเรียนได้
本文章由计算机程序翻译,如有差异,请以英文原文为准。