สุพจน์ พิมประสาร, ณรงค์ชัย บุญมั่น, อมรรัตน์ พุทธอริยวงศ์, ชลวัฒน์ กิมซัว, ศักดิ์สิทธิ์ เทียมคำ
{"title":"การใช้ทักษะดิจิทัลในการบริหารงานของวิทยาลัยศาสนศาสตร์นครราชสีมา","authors":"สุพจน์ พิมประสาร, ณรงค์ชัย บุญมั่น, อมรรัตน์ พุทธอริยวงศ์, ชลวัฒน์ กิมซัว, ศักดิ์สิทธิ์ เทียมคำ","doi":"10.60027/iarj.2024.275674","DOIUrl":null,"url":null,"abstract":"ภูมิหลังและวัตถุประสงค์: ปัจจุบันการใช้ทักษะดิจิทัลสำหรับการบริหารงานระดับอุดมศึกษาถือว่าเป็นอีกทักษะหนึ่งที่สำคัญมาก โดยเฉพาะอย่างยิ่ง หัวหน้าผู้บริหารสถานศึกษาระดับอุดมศึกษาที่มีส่วนสำคัญในบริหารคณะทำงานในองค์กรที่ต้องใช้ความรู้และประสบการณ์ดิจิทัลเพื่อที่จะจัดการการบริหารบุคลากรให้บรรลุวัตถุประสงค์อย่างมีประสิทธิภาพ สำหรับการวิจัยในครั้งนี้ วิทยาลัยศาสนศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัยได้ให้ความสำคัญในเรื่องทักษะการใช้งานดิจิทัลในการบริหารงานด้านการศึกษาเพื่อให้บรรลุเป้าหมายอย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาการใช้ทักษะดิจิทัลสำหรับการบริหารงาน 2) ศึกษาการประเมินการใช้ทักษะดิจิทัลสำหรับการบริหารงาน และ 3) ศึกษาความพึงพอใจในการใช้ทักษะดิจิทัลสำหรับการบริหารงาน ซึ่งทำการศึกษาที่วิทยาลัยศาสนศาสตร์นครราชสีมา อำเภอเมือง จังหวัดนครราชสีมา\nระเบียบวิธีวิจัย: กลุ่มตัวอย่าง คือ ผู้มีส่วนได้ส่วนจำนวน 100 คน ได้แก่ อาจารย์ 15 คน บุคลากรสนับสนุนอีก 12 คน และนักศึกษา 72 คน รวม 100 คน ใช้วิธีการสุ่มแบบ 2 ขั้นตอน ใช้การสุ่มแบบแบ่งชั้นปีการศึกษา โดยแบ่งตามขนาดจำนวนนักศึกษาแต่ละชั้นปีการศึกษา ภายในวิทยาลัยศาสนศาสตร์นครราชสีมา อำเภอเมือง จังหวัดนครราชสีมา ภาคเรียนที่ 2 ในปีการศึกษา 2023 เครื่องมือวิจัยในครั้งนี้ คือ แบบสอบถามชนิดมาตราส่วนโดยแบ่งเกณฑ์การวัดผลการประเมินทั้งหมด 5 ระดับ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน\nผลการวิจัย: ศักยภาพในการใช้ทักษะดิจิทัลถูกใช้อย่างมีประสิทธิภาพอย่างมากในการบริหารงานของวิทยาลัยศาสนศาสตร์นครราชีมา นอกจากนั้นยังพบว่า (1) ภาพรวมการใช้ทักษะดิจิทัลของบริหารงานอยู่ในระดับสูง (2) การสำรวจความพึงพอใจในการใช้ทักษะดิจิทัลของบริหารงานโดยรวมอยู่ในระดับมากที่สุด (3) ประเด็นที่จำเป็นสูงสุดคือการสื่อสารด้วยเทคโนโลยีดิจิทัลโดยการใช้ทักษะดิจิทัลสำหรับการพัฒนาการบริหารงานของวิทยาลัยศาสนศาสตร์นครราชสีมา\nสรุปผล: การใช้ทักษะดิจิทัลในการบริหารวิทยาลัยวิทยาลัยศาสนศาสตร์นครราชสีมาอยู่ในระดับที่สูงอย่างมีนัยสำคัญและการประเมินความต้องการเป็นตัวชี้วัดศักยภาพในการใช้ทักษะดิจิทัลเพื่อการพัฒนาการบริหารงานควบคู่กับเทคโนโลยีดิจิทัล","PeriodicalId":505621,"journal":{"name":"Interdisciplinary Academic and Research Journal","volume":"60 6","pages":""},"PeriodicalIF":0.0000,"publicationDate":"2024-04-08","publicationTypes":"Journal Article","fieldsOfStudy":null,"isOpenAccess":false,"openAccessPdf":"","citationCount":"0","resultStr":null,"platform":"Semanticscholar","paperid":null,"PeriodicalName":"Interdisciplinary Academic and Research Journal","FirstCategoryId":"1085","ListUrlMain":"https://doi.org/10.60027/iarj.2024.275674","RegionNum":0,"RegionCategory":null,"ArticlePicture":[],"TitleCN":null,"AbstractTextCN":null,"PMCID":null,"EPubDate":"","PubModel":"","JCR":"","JCRName":"","Score":null,"Total":0}
引用次数: 0
การใช้ทักษะดิจิทัลในการบริหารงานของวิทยาลัยศาสนศาสตร์นครราชสีมา
ภูมิหลังและวัตถุประสงค์:ปัจุบันการใช้ทักษะดิจิทัลสำคัญมาก โดยเฉพาะอย่างย่ิหัวหน้าผู้บริหารสถานศึกษาระดับอุดมศึกษาที่มีส่วนสำคัญในบริหารคณะทำงานในองค์กรที่ต้องใช้ความรู้และประสบการณ์ดิจิทัลเพื่อที่จะจัดการการบริหารบุคลากรให้บรรลุวัตถุประสงค์อย่างมีประสิทธิภาพสำรับารวิจัยในครั้งนี้ วิทยาลัยศาสนศาสตร์มหาวิทยาลัยมหากุฏราชวิทยาลัยได้ให้ความสสำคัญในเรอื่งทักษะการใช้งานดิจิทัลในการบริหารงนด้านการศึษกาเพอืืให้บรรุเป้าหมายอยา่งมีปะสิทธิภาพและประสิทธิผลการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาการใช้ทักษะดิจิทัลสำหรับการบริหารงน2) เE28↩ึกษาการประเมินการใช้ทักษะดิจิทัลสำจิทัลสำบการบริน และ 3) ศึกษาความพึงพอใจในการใช้ทักษะดิจิทัลสำบการบริหารงานึซ่งทำการศึษาที่วิทยาลัยศาสนศาตสร์นคราชสีมา อำเภอเมอืง จังหวัดนคราชสีมาระเบียบวิธีวจั:100 คน เด้แก่ อาจารย์ 15 คน มตัวอย่าง คือ ผู้มีส่วนศึกษา 72 คน รวม 100 คนใช้วิธีการสุ่มแบ 2 ขั้นตอน ใช้ารสุ่มแบแบ่งชั้นปีการศึกษา โดยแบ่งตามขนาดจำนวนักศึกษา แต่ละชั้นปีการศึกษาภายในวิทยาลัยศาสนศาสตร์นคราชสีมา อเภำอเมือง จังหวัดนคราชสีมา ภาคเรียนที่ 2 ในปีการศึกษา 2023 เครื่องมือวิจัยในครั้งีนคือ แบสอบถามชนิดมาตราส่วนโดยแบ่งเกณฑ์การวัดผลการประเมินทั้งหมด 5 ระดับ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนาตรฐานผลการวิจัย:ศักยภาพในการใช้ทักษะดิจิทัลถูกใช้อย่างมีประสิทธิภาพอย่างมากในการบริหารงานของวิทยาลัยศาสนศาสตร์นครราชีมา นอกจากนั้นยังพบว่า (1) ภาพรวมการใช้ทักษะดิจิทัลของบริหารงานอยู่ในระดับสูง (2)การสำรวจความพึงพอใจในการใช้ทักษดิจิทัลองกโดยรวมอยู่ในระดบมากที่สุด (3)ประเด็นที่จำเป็นสูงสุดือการสือสารด้วยเทคโนโลยีดิจิทัลโดยการใช้ทักษะดิจิทัลสำหรับารพัฒนาการบริหารงานของวิทยาลัยศาสนศาสตร์นคราชสีมสารุปผล:การใช้ทักษะดิจิทัลในการบริหารวิทยาลัยวิทยาลัยศาสนศาสตร์นครราชสีมาอยู่ในระดับที่สูงอย่างมีนัยสำคัญและการประเมินความต้องการเป็นตัวชี้วัดศักยภาพในการใช้ทักษะดิจิทัลเพื่อการพัฒนาการบริหารงานควบคู่กับเทคโนโลยีดิจิทัล
本文章由计算机程序翻译,如有差异,请以英文原文为准。