การรับรู้สิ่งแวดล้อมการเรียนรู้ของนักศึกษาแพทย์ไทยชั้นคลินิกในโรงพยาบาลสุราษฎร์ธานี ภายใต้โครงการผลิตแพทย์เพื่อชาวชนบท

พรรณพิลาศ เย็นสบาย, ปณิธี พูนเพชรรัตน์
{"title":"การรับรู้สิ่งแวดล้อมการเรียนรู้ของนักศึกษาแพทย์ไทยชั้นคลินิกในโรงพยาบาลสุราษฎร์ธานี ภายใต้โครงการผลิตแพทย์เพื่อชาวชนบท","authors":"พรรณพิลาศ เย็นสบาย, ปณิธี พูนเพชรรัตน์","doi":"10.33165/rmj.2024.47.1.266341","DOIUrl":null,"url":null,"abstract":"บทนำ: สิ่งแวดล้อมการเรียนรู้ที่เหมาะสมมีความสัมพันธ์กับสุขภาวะที่ดีขึ้นของนักศึกษาแพทย์ ส่งผลให้มีการเรียนรู้ที่ดี\nวัตถุประสงค์: เพื่อศึกษาการรับรู้และปัจจัยที่มีผลต่อการรับรู้สิ่งแวดล้อมการเรียนรู้ของนักศึกษาแพทย์ชั้นคลินิกในโรงพยาบาลสุราษฎร์ธานี\nวิธีการศึกษา: การศึกษาเชิงพรรณนาแบบภาคตัดขวางในกลุ่มตัวอย่างนักศึกษาแพทย์ชั้นคลินิก (ชั้นปีที่ 4 - 6) จำนวน 89 คน เก็บข้อมูลตั้งแต่วันที่ 1 กันยายน พ.ศ. 2565 ถึงวันที่ 30 พฤศจิกายน พ.ศ. 2565 โดยใช้แบบสอบถามออนไลน์ ประกอบด้วย แบบประเมินการรับรู้สิ่งแวดล้อมการเรียนรู้ของนักศึกษาแพทย์ไทย และแบบสอบถามปลายเปิด\nผลการศึกษา: กลุ่มตัวอย่างมีอัตราการตอบกลับแบบสอบถาม คิดเป็นร้อยละ 65.17 ส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง และมีเกรดเฉลี่ยอยู่ในช่วง 3.00 - 3.49 การรับรู้สิ่งแวดล้อมการเรียนรู้มีคะแนนเฉลี่ย คิดเป็นร้อยละ 70 โดยคะแนนมากสุดคือ ด้านเพื่อนร่วมงาน และด้านการสนับสนุนทางจิตใจ ขณะที่คะแนนน้อยสุดคือ ด้านสุขภาพและความเครียด โดยนักศึกษาแพทย์ชั้นปีที่ 6 เพศหญิงรับรู้ด้านประสบการณ์การเรียนดีกว่าเพศชายอย่างมีนัยสำคัญ ขณะที่ด้านอื่น ๆ ไม่มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญ (P > .05) เมื่อเปรียบเทียบในปัจจัยด้านเพศ ชั้นปีการศึกษา และเกรดเฉลี่ย โดยมีข้อเสนอแนะให้พัฒนาด้านสิ่งแวดล้อมทางกายภาพ และด้านสุขภาพและความเครียด\nสรุป: นักศึกษาแพทย์ส่วนใหญ่รับรู้สิ่งแวดล้อมการเรียนรู้ในเชิงบวกโดยมีจุดแข็งด้านผู้สอน ด้านเพื่อนร่วมงาน ด้านประสบการณ์การเรียน ด้านแรงบันดาลใจ และด้านการสนับสนุนทางจิตใจ ขณะที่ด้านสิ่งแวดล้อมทางกายภาพ และด้านสุขภาพและความเครียด จำเป็นต้องหาแนวทางการพัฒนา\n ","PeriodicalId":500652,"journal":{"name":"Ramathibodi Medical Journal","volume":"12 16","pages":""},"PeriodicalIF":0.0000,"publicationDate":"2024-03-25","publicationTypes":"Journal Article","fieldsOfStudy":null,"isOpenAccess":false,"openAccessPdf":"","citationCount":"0","resultStr":null,"platform":"Semanticscholar","paperid":null,"PeriodicalName":"Ramathibodi Medical Journal","FirstCategoryId":"0","ListUrlMain":"https://doi.org/10.33165/rmj.2024.47.1.266341","RegionNum":0,"RegionCategory":null,"ArticlePicture":[],"TitleCN":null,"AbstractTextCN":null,"PMCID":null,"EPubDate":"","PubModel":"","JCR":"","JCRName":"","Score":null,"Total":0}
引用次数: 0

Abstract

บทนำ: สิ่งแวดล้อมการเรียนรู้ที่เหมาะสมมีความสัมพันธ์กับสุขภาวะที่ดีขึ้นของนักศึกษาแพทย์ ส่งผลให้มีการเรียนรู้ที่ดี วัตถุประสงค์: เพื่อศึกษาการรับรู้และปัจจัยที่มีผลต่อการรับรู้สิ่งแวดล้อมการเรียนรู้ของนักศึกษาแพทย์ชั้นคลินิกในโรงพยาบาลสุราษฎร์ธานี วิธีการศึกษา: การศึกษาเชิงพรรณนาแบบภาคตัดขวางในกลุ่มตัวอย่างนักศึกษาแพทย์ชั้นคลินิก (ชั้นปีที่ 4 - 6) จำนวน 89 คน เก็บข้อมูลตั้งแต่วันที่ 1 กันยายน พ.ศ. 2565 ถึงวันที่ 30 พฤศจิกายน พ.ศ. 2565 โดยใช้แบบสอบถามออนไลน์ ประกอบด้วย แบบประเมินการรับรู้สิ่งแวดล้อมการเรียนรู้ของนักศึกษาแพทย์ไทย และแบบสอบถามปลายเปิด ผลการศึกษา: กลุ่มตัวอย่างมีอัตราการตอบกลับแบบสอบถาม คิดเป็นร้อยละ 65.17 ส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง และมีเกรดเฉลี่ยอยู่ในช่วง 3.00 - 3.49 การรับรู้สิ่งแวดล้อมการเรียนรู้มีคะแนนเฉลี่ย คิดเป็นร้อยละ 70 โดยคะแนนมากสุดคือ ด้านเพื่อนร่วมงาน และด้านการสนับสนุนทางจิตใจ ขณะที่คะแนนน้อยสุดคือ ด้านสุขภาพและความเครียด โดยนักศึกษาแพทย์ชั้นปีที่ 6 เพศหญิงรับรู้ด้านประสบการณ์การเรียนดีกว่าเพศชายอย่างมีนัยสำคัญ ขณะที่ด้านอื่น ๆ ไม่มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญ (P > .05) เมื่อเปรียบเทียบในปัจจัยด้านเพศ ชั้นปีการศึกษา และเกรดเฉลี่ย โดยมีข้อเสนอแนะให้พัฒนาด้านสิ่งแวดล้อมทางกายภาพ และด้านสุขภาพและความเครียด สรุป: นักศึกษาแพทย์ส่วนใหญ่รับรู้สิ่งแวดล้อมการเรียนรู้ในเชิงบวกโดยมีจุดแข็งด้านผู้สอน ด้านเพื่อนร่วมงาน ด้านประสบการณ์การเรียน ด้านแรงบันดาลใจ และด้านการสนับสนุนทางจิตใจ ขณะที่ด้านสิ่งแวดล้อมทางกายภาพ และด้านสุขภาพและความเครียด จำเป็นต้องหาแนวทางการพัฒนา  
การรับรู้สิ่งแวดล้อมการเรียนรู้ของนักศึกษาแพทย์ไทยชั้นคลินิกในโรงพยาบาลสุราษฎร์ธานี ภายใต้โครงการผลิตแพทย์เพื่อชาวชนบท
มตัน: สิ่งแวดล้อมการเรียนรู้ที่เหมาะสมีความสัมพันธ์กับสุขภาวะที่ดีขึน้ของนักศึกษาแพทย์ ส่งผลใหมีการเรียนรู้ที่ดีวัถุประสงค์:การศึกษาเชิงพรรณนาแบภาคตัดขวางในาลุ่มตัวอย่างนักศึกษาแพทย์ชั้นคลินิก (ชั้นปีที่ 4 - 6) จำนวน 89 คน เก็บข้อมูลตังแต่วันที่ 1 กันยายน พ.ศ.2565 ถึงวันที่ 30 พฤศจิกายน พ.ศ.2565 โดยใช้แบบสอบถามออนไลน์ ประกอบด้วย แบบประเมินการรับรู้สิ่งแวดล้อมการเรียนรู้ของนักศึกษาแพทย์ไทย และแบบสอบถามปลายเปิดผลการศึกษา: กลุ่มตัวอย่างมีอัตราการตอบกลับแบบสอบถาม คิดเป็นร้อยละ 65.17 ส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง และมีเกรดเฉลี่ยอยู่ในช่วง 3.00 - 3.49 การรับรู้สิ่งแวดล้อกมารเรียนรู้มีคะแนนเฉลี่ย คิดเป็นร้อยละ 70 โดยคะแนนมากสุดือ ด้านเพื่อนร่วมงาน และด้านการสันบสุนทางจิตใจ ขณะที่คะแนนน้อยสุดคอืด้านสุขภาพและความเครียด โดยนักศึกษาแพทย์ชั้นปีที่ 6 เพศหญิงรับรู้ด้านประสบการณ์การเรียนดีกว่าเพศชายอย่างมีนัยสำคัญ ขณะที่ด้านอื่น ๆ ไม่มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญ (P > .05) เมื่อเปรียบเทียบในปัจจัยด้านเพศ ชั้นปีการศึกษา และเกรดเฉลี่ย โดยมขี้อเสนอแนะให้พัฒนาด้านสิ่งแวดล้อมทางกายภาพ และด้านสุขภาพและความเครียดสรุป:นักศึกษาแพทย์ส่วนใหญ่รับรู้สิ่งแวล้อมการเรียนรู้ในเชิงบวกโดยมีจุดแขง็ด้านผู้สอน ด้านเพื่อนรวมงาน ด้านประบสการณ์การเรียนด้านแรงบันดาลใจ และด้านการสนับสนุนทางจิตใจ ขณะที่ด้านสิ่งแวดล้อมทางกายภาพ และด้านสุขภาพ และควมเครียด จำเป็นต้องหาแนวทางการพัฒนา
本文章由计算机程序翻译,如有差异,请以英文原文为准。
求助全文
约1分钟内获得全文 求助全文
来源期刊
自引率
0.00%
发文量
0
×
引用
GB/T 7714-2015
复制
MLA
复制
APA
复制
导出至
BibTeX EndNote RefMan NoteFirst NoteExpress
×
提示
您的信息不完整,为了账户安全,请先补充。
现在去补充
×
提示
您因"违规操作"
具体请查看互助需知
我知道了
×
提示
确定
请完成安全验证×
copy
已复制链接
快去分享给好友吧!
我知道了
右上角分享
点击右上角分享
0
联系我们:info@booksci.cn Book学术提供免费学术资源搜索服务,方便国内外学者检索中英文文献。致力于提供最便捷和优质的服务体验。 Copyright © 2023 布克学术 All rights reserved.
京ICP备2023020795号-1
ghs 京公网安备 11010802042870号
Book学术文献互助
Book学术文献互助群
群 号:481959085
Book学术官方微信