{"title":"ความเชื่อ ความศรัทธา ที่สนับสนุนการท่องเที่ยวในพื้นที่จังหวัดพัทลุง","authors":"เมทิกา พ่วงแสง, เพ็ญพิมพ์ พวงสุวรรณ","doi":"10.60101/jla.2023.4.2.3287","DOIUrl":null,"url":null,"abstract":" งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาและนําเสนอกิจกรรมความเชื่อ ความศรัทธา กับการท่องเที่ยวในพื้นที่จังหวัดพัทลุง ซึ่งสามารถเชื่อมโยงให้เกิดแรงจูงใจและเกิดแรงผลักดันในการเดินทางทองเที่ยวของนักท่องเที่ยว โดยใช้วิธีการวิจัยเชิงคุณภาพด้วยการศึกษาเอกสารทบทวนแนวคิดและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง ใช้กระบวนการศึกษาอิงพื้นที่ด้วยการสังเกตแบบไม่มีส่วนร่วม พื้นที่วิจัยคือ จังหวัดพัทลุง แต่ไม่ได้อาศัยศึกษาในพื้นที่วิจัยที่ต้องอาศัยปรากฏการณ์อันสำคัญ (grounded theory) เป็นการวิจัยเอกสารสำคัญ ดังนั้นการพบข้อมูลต่าง ๆ จึงใช้หลักการแบ่งเป็นหมวดหมู่ด้วยเทคนิคการจัดกลุ่มร่วมกับเทคนิคการจำแนกประเภท\n ผลการศึกษาพบว่า ความเชื่อ ความศรัทธา ในพื้นที่จังหวัดพัทลุง แบ่งออกเป็น 3 ประเภท คือ 1) ความเชื่อและศรัทธาที่เกี่ยวกับสิ่งศักดิ์สิทธิ์ คือ โนราโรงครูวัดท่าแค ซึ่งกลายเป็น soft power ของพัทลุง 2) ความเชื่อที่เกี่ยวข้องกับเกจิอาจารย์หรือบุคคลสำคัญ คือ วัดเขาอ้อ มีชื่อเสียงเลื่องลือในเรื่องของไสยเวทย์ด้วยที่มาของมือปราบแดนใต้ พล.ต.ต. ขุนพันธรักษ์ราชเดช หรือ ขุนพันธ์ ตำนานจอมขมังเวท และเกจิอาจารย์ด้านไสยเวทย์พิธีกรรมต่าง ๆ 3) ความเชื่อที่มีความสัมพันธ์กับแนวคิดศาสนา คือ พระบรมธาตุเจดีย์วัดเขียนบางแก้ว ซึ่งตามความเชื่อเป็นพื้นที่ศักดิ์สิทธิ์ จากความเชื่อ ความศรัทธาทั้ง 3 ประเภท นำไปสู่การเชื่อมโยงการท่องเที่ยวเชิงความเชื่อและความศรัทธา หรือการท่องเที่ยว \"มูเตลู\" ที่สร้างรายได้หมุนเวียนมหาศาลในพื้นที่ และทำให้นักท่องเที่ยวเดินทางไปเยือนเพิ่มขึ้นทุกปี ทั้งนี้ หน่วยงานที่เกี่ยวข้องควรมีการพัฒนาด้านกายภาพของพื้นที่ศักดิ์สิทธิ์ รวมถึงการพัฒนาเส้นทางการเข้าถึงแหล่งท่องเที่ยว เชื่อมโยงกิจกรรมการท่องเที่ยวเชิงความเชื่อ และความศรัทธา ทำให้นักท่องเที่ยวได้รับความรู้ที่เชื่อมโยงกับประวัติศาสตร์ ซึ่งเป็นปัจจัยภายนอกที่ดึงดูดใจนักท่องเที่ยวนอกเหนือจากปัจจัยภายในที่เกิดจากความเชื่อและความศรัทธาภายในตัวบุคคล ซึ่งมีผลต่อความคิดและการตัดสินใจเดินทางท่องเที่ยว","PeriodicalId":489378,"journal":{"name":"Journal of Liberal Arts RMUTT","volume":"46 7","pages":""},"PeriodicalIF":0.0000,"publicationDate":"2023-12-21","publicationTypes":"Journal Article","fieldsOfStudy":null,"isOpenAccess":false,"openAccessPdf":"","citationCount":"0","resultStr":null,"platform":"Semanticscholar","paperid":null,"PeriodicalName":"Journal of Liberal Arts RMUTT","FirstCategoryId":"0","ListUrlMain":"https://doi.org/10.60101/jla.2023.4.2.3287","RegionNum":0,"RegionCategory":null,"ArticlePicture":[],"TitleCN":null,"AbstractTextCN":null,"PMCID":null,"EPubDate":"","PubModel":"","JCR":"","JCRName":"","Score":null,"Total":0}
引用次数: 0
ความเชื่อ ความศรัทธา ที่สนับสนุนการท่องเที่ยวในพื้นที่จังหวัดพัทลุง
งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาและนําเสนอกจิกรรมความเชื่อ ความศรัทธา กับการท่องเที่ยวในพื้นที่จังหวัดพัทลุงมารถเชื่อมโยงให้เกิดแด็จงจงใและเกิดแรงผลักดันในารเที่ยวของนักท่องเที่ยวโดยใช้วิธีการวิจัยเชิงคุณภาพด้ยวการศึกษาเอกสารทบทวนแนวคิดและงนาวิจัยที่เี่ยวข้อง ใช้กระบวนการศึษกาองื้นที่ด้วยการสัเกอตบไมี่สวนร่วมเด็กันที่วิจัยคือ จังหวัดพัทลุง แต่ม่ได้อาศัยศกึษาในพื้นที่วิจัยที่ต้องอาศัยปรากฏการณ์อันสำคัญ (grounded theory)เป็นการวิจัยเอกสารสำคัญ ดังนั้นการพบข้อมูลต่าง ๆจึงใช้หาลัการแบ่งเป็นหมวดหมู่ด้วยเทคนิคการจัดกลุ่มร่วมกับเทคนิคการจำแนกประเภท ผลการศึษกาพบว่า ความเชื่ ความศรัทธา ในพื้นที่จังหวัดพัทลุง แบ่งอกเป็น 3 ประเภท คือ 1)ความเชือและศรัทธาที่เกี่ยวักบสิ่งศักดิ์สิทธิ์ คือ โนราโรงครูวัดท่าแค ซึ่งกลายเป็น soft power ของพัลุง 2)ความเชอื่ที่เกี่ยวข้องกับเกจิอาจารย์หรอืบุคคลสำคัญ คือ วัดเขาอ้อ มีชื่อเสียงเลือในเรอืงขอไสยเวทย์ด้วยที่มาของมือปราบแดนใต้ พล.ต.ต.ขุนพันธรักษ์ราชเดช หรือ ขุนพันธ์ ตำนานจอมขมังเวท และเกจิอาจารย์ด้านไสยเวทย์พิธีกรรมต่าง ๆ 3).ความเช่ือที่มีความสัมพันธ์กับแนวคิดศาสนา คือ พระบรมธาตุเจดีย์วัดเขียนบางแก้ว ซึ่งตามความเชื่อเป็นืพ้นที่ศักดิ์สิทธ์จากความเชื่อ ความศรัทธาทั้ง 3 ประเภท นำไปส่การเชื่อมโยงการท่องเที่ยวเชิงความเชื่อและความศรัทธา หรอืการท่องเที่ยว"มตันเที่องเที่ยวเดินเที่องปเยออืนเพินมขึนทุกปีทั้งนี้ หน่วยงานที่เกี่ยวข้องควรมีการพัฒนาด้านกายภาพของพื้นที่ศักดิ์สิทธิ์ รวมถึงการพัฒนาเส้นทางการเข้าถึงแหล่งท่องเที่ยว เชื่อมโยงกิจกรรมการท่องเที่ยวเชิงความเชื่อ และความศรัทธาทำให้นักท่องเที่ยวได้รับความรู้ที่เชือมโยงกับประวัติศาสตร์เด็จัยภายนอกที่ดึงดดใจันกที่งเทียวนอกเหนอจากปัจัยภายใที่เกทียจากทียวมเชออออออออออออออออออออออออออออออออออออออออออออออออออออออออออออออ
本文章由计算机程序翻译,如有差异,请以英文原文为准。