การวิเคราะห์ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องในการพัฒนาเมือง กรณีศึกษาเมืองสวรรคโลก

Thanawin Wijitporn, Pranom Tansukanun
{"title":"การวิเคราะห์ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องในการพัฒนาเมือง กรณีศึกษาเมืองสวรรคโลก","authors":"Thanawin Wijitporn, Pranom Tansukanun","doi":"10.56261/jars.v20i1.248188","DOIUrl":null,"url":null,"abstract":"            การวิเคราะห์ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องในการพัฒนาเมืองกรณีศึกษาเมืองสวรรคโลกมีจุดประสงค์เพื่อทำความเข้าใจผู้มีส่วนเกี่ยวข้องกลุ่มต่าง ๆ ในการพัฒนาเมืองสวรรคโลก โดยการดำเนินการวิจัยเชิงปฏิบัติภายใต้โครงการพัฒนาเมืองทุกมิติอย่างมีส่วนร่วม ในการวิเคราะห์ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย (Stakeholder Analysis) เพื่อทำความเข้าใจระดับอำนาจ ความสนใจ บทบาท และความสัมพันธ์ของผู้มีส่วนเกี่ยวข้องในการพัฒนาเมือง พบว่าผู้มีส่วนเกี่ยวข้องสามารถแบ่งได้สามกลุ่มคือ หน่วยงานรัฐ ภาคเอกชน และ ภาคประชาชน โดยในปัจจุบันหน่วยงานรัฐ (เทศบาลเมืองสวรรคโลก) เป็นผู้มี อำนาจ ความสนใจ และบทบาทสูงสุด และภาคประชาชนมีบทบาทน้อยที่สุดในการกำหนดทิศทางและขับเคลื่อนการพัฒนาเมือง ซึ่งขัดแย้งกับลักษณะความสัมพันธ์ด้าน อิทธิพล และความสนใจของผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง  ที่พบว่าภาคประชาชนเป็นผู้ได้รับความสนใจจากภาครัฐและภาคเอกชนสูงสุด นำไปสู่ข้อเสนอแนะด้านการส่งเสริมความสนใจ และการเสริมอำนาจให้กับภาคประชาชนให้มีบทบาทในการพัฒนาเมืองที่มากขึ้นเพื่อให้สอดคล้องกับเป้าหมายการพัฒนาอย่างยั่งยืน โดยแบ่งเป็นแนวทางระยะสั้น คือการเปลี่ยนแปลงบทบาทของหน่วยงานรัฐจากเดิมที่มีบทบาทเป็นผู้ดำเนินการทั้งหมด เป็นผู้สนับสนุนและส่งเสริมการมีส่วนร่วมของ ภาคเอกชน และประชาชนในการพัฒนาผ่านการดำเนินการโครงการระยะสั้น เมื่อภาคเอกชน และประชาชนมีความสนใจที่เพิ่มขึ้น มีการรวมกลุ่มดำเนินการอย่างเป็นรูปธรรมประกอบกับวัฒนธรรมการทำงานร่วมกันในเมืองเกิดขึ้นอย่างเป็นธรรมชาติแล้วจึงนำไปสู่ข้อเสนอในระยะยาว คือการให้ทั้งภาครัฐ เอกชน และประชาชนมีอำนาจและความสนใจในระดับทัดเทียมกันและดำเนินการร่วมสร้าง(Co Create)การพัฒนาเมืองร่วมกันเพื่อส่งเสริมการพัฒนาอย่างมีส่วนร่วมสู่ความเป็นเมืองน่าอยู่อย่างยั่งยืนต่อไป","PeriodicalId":428713,"journal":{"name":"Journal of Architectural/Planning Research and Studies (JARS)","volume":"105 2 1","pages":"0"},"PeriodicalIF":0.0000,"publicationDate":"2022-09-02","publicationTypes":"Journal Article","fieldsOfStudy":null,"isOpenAccess":false,"openAccessPdf":"","citationCount":"0","resultStr":null,"platform":"Semanticscholar","paperid":null,"PeriodicalName":"Journal of Architectural/Planning Research and Studies (JARS)","FirstCategoryId":"1085","ListUrlMain":"https://doi.org/10.56261/jars.v20i1.248188","RegionNum":0,"RegionCategory":null,"ArticlePicture":[],"TitleCN":null,"AbstractTextCN":null,"PMCID":null,"EPubDate":"","PubModel":"","JCR":"","JCRName":"","Score":null,"Total":0}
引用次数: 0

Abstract

            การวิเคราะห์ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องในการพัฒนาเมืองกรณีศึกษาเมืองสวรรคโลกมีจุดประสงค์เพื่อทำความเข้าใจผู้มีส่วนเกี่ยวข้องกลุ่มต่าง ๆ ในการพัฒนาเมืองสวรรคโลก โดยการดำเนินการวิจัยเชิงปฏิบัติภายใต้โครงการพัฒนาเมืองทุกมิติอย่างมีส่วนร่วม ในการวิเคราะห์ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย (Stakeholder Analysis) เพื่อทำความเข้าใจระดับอำนาจ ความสนใจ บทบาท และความสัมพันธ์ของผู้มีส่วนเกี่ยวข้องในการพัฒนาเมือง พบว่าผู้มีส่วนเกี่ยวข้องสามารถแบ่งได้สามกลุ่มคือ หน่วยงานรัฐ ภาคเอกชน และ ภาคประชาชน โดยในปัจจุบันหน่วยงานรัฐ (เทศบาลเมืองสวรรคโลก) เป็นผู้มี อำนาจ ความสนใจ และบทบาทสูงสุด และภาคประชาชนมีบทบาทน้อยที่สุดในการกำหนดทิศทางและขับเคลื่อนการพัฒนาเมือง ซึ่งขัดแย้งกับลักษณะความสัมพันธ์ด้าน อิทธิพล และความสนใจของผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง  ที่พบว่าภาคประชาชนเป็นผู้ได้รับความสนใจจากภาครัฐและภาคเอกชนสูงสุด นำไปสู่ข้อเสนอแนะด้านการส่งเสริมความสนใจ และการเสริมอำนาจให้กับภาคประชาชนให้มีบทบาทในการพัฒนาเมืองที่มากขึ้นเพื่อให้สอดคล้องกับเป้าหมายการพัฒนาอย่างยั่งยืน โดยแบ่งเป็นแนวทางระยะสั้น คือการเปลี่ยนแปลงบทบาทของหน่วยงานรัฐจากเดิมที่มีบทบาทเป็นผู้ดำเนินการทั้งหมด เป็นผู้สนับสนุนและส่งเสริมการมีส่วนร่วมของ ภาคเอกชน และประชาชนในการพัฒนาผ่านการดำเนินการโครงการระยะสั้น เมื่อภาคเอกชน และประชาชนมีความสนใจที่เพิ่มขึ้น มีการรวมกลุ่มดำเนินการอย่างเป็นรูปธรรมประกอบกับวัฒนธรรมการทำงานร่วมกันในเมืองเกิดขึ้นอย่างเป็นธรรมชาติแล้วจึงนำไปสู่ข้อเสนอในระยะยาว คือการให้ทั้งภาครัฐ เอกชน และประชาชนมีอำนาจและความสนใจในระดับทัดเทียมกันและดำเนินการร่วมสร้าง(Co Create)การพัฒนาเมืองร่วมกันเพื่อส่งเสริมการพัฒนาอย่างมีส่วนร่วมสู่ความเป็นเมืองน่าอยู่อย่างยั่งยืนต่อไป
城市发展案例分析,天堂世界
对城市发展的贡献者的分析,天堂世界的案例研究,旨在了解参与城市发展的贡献者。通过在各个维度的城市发展项目下进行实践研究,参与利益相关者分析。为了了解城市发展中参与者的权力、兴趣、角色和关系,可以分为三个类别:政府机构、私营部门和公共部门。目前,政府机构(tessabans,简称tessabans,简称tessabans)是世界上最权威、最感兴趣、最具影响力的机构,而公共部门在指导和推动城市发展方面的作用最小。这与影响和利益相关方的关系不一致,他们发现公共部门最受公共和私营部门关注,并提出建议,鼓励公众对城市发展发挥更大作用,以符合可持续发展目标。短期指导方针是:通过实施短期项目,将政府机构的角色从最初的运营角色转变为支持和促进私营部门和公众对发展的参与。随着私营部门和公众对城市合作文化的兴趣日益浓厚,长期的建议是让公共部门、私营部门和公众拥有同等的权力和兴趣,共同建设(Co - Create)城市发展,以促进可持续发展。
本文章由计算机程序翻译,如有差异,请以英文原文为准。
求助全文
约1分钟内获得全文 求助全文
来源期刊
自引率
0.00%
发文量
0
×
引用
GB/T 7714-2015
复制
MLA
复制
APA
复制
导出至
BibTeX EndNote RefMan NoteFirst NoteExpress
×
提示
您的信息不完整,为了账户安全,请先补充。
现在去补充
×
提示
您因"违规操作"
具体请查看互助需知
我知道了
×
提示
确定
请完成安全验证×
copy
已复制链接
快去分享给好友吧!
我知道了
右上角分享
点击右上角分享
0
联系我们:info@booksci.cn Book学术提供免费学术资源搜索服务,方便国内外学者检索中英文文献。致力于提供最便捷和优质的服务体验。 Copyright © 2023 布克学术 All rights reserved.
京ICP备2023020795号-1
ghs 京公网安备 11010802042870号
Book学术文献互助
Book学术文献互助群
群 号:604180095
Book学术官方微信