การเปรียบเทียบความพร้อมของเมืองเชียงใหม่เพื่อการรองรับการพำนักระยะยาว ตามปัจจัยสนับสนุนการเป็นเมืองพำนักระยะยาวที่น่าอยู่อย่างยั่งยืน

สุดารัตน์ อุทธารัตน์, Nivej Poonsukcharoen
{"title":"การเปรียบเทียบความพร้อมของเมืองเชียงใหม่เพื่อการรองรับการพำนักระยะยาว ตามปัจจัยสนับสนุนการเป็นเมืองพำนักระยะยาวที่น่าอยู่อย่างยั่งยืน","authors":"สุดารัตน์ อุทธารัตน์, Nivej Poonsukcharoen","doi":"10.56261/jars.v20i1.247622","DOIUrl":null,"url":null,"abstract":"งานวิจัยชิ้นเป็นการศึกษาปัจจัยหลักและปัจจัยสนับสนุนของการเป็นเมืองพำนักระยะยาวที่น่าอยู่น่าอาศัยอย่างยั่งยืนของเมืองท่องเที่ยวหลักของภาคเหนือ (เมืองเชียงใหม่) เพื่อนำไปสู่การเปรียบเทียบความพร้อมของเมืองเชียงใหม่ตามปัจจัยสนับสนุนการเป็นเมืองพำนักระยะยาวที่น่าอยู่อย่างยั่งยืน พื้นที่ศึกษาในครั้งนี้จะศึกษาครอบคลุมพื้นที่เมืองเชียงใหม่ ซึ่งอยู่ในขอบเขตอำเภอเมืองเชียงใหม่ โดยเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยจะเป็นการสัมภาษณ์เชิงลึกและการจัดประชุมระดมสมอง ผลการศึกษาพบว่า เมืองเชียงใหม่มีศักยภาพและความพร้อมในการพัฒนาสู่เมืองพำนักระยะยาวตามปัจจัยการเป็นเมืองพำนักระยะยาวที่น่าอยู่อย่างยั่งยืนในบางปัจจัยเท่านั้น โดยใน 17 ปัจจัยสนับสนุนการเป็นเมืองพำนักระยะยาวที่น่าอยู่น่าอาศัยอย่างยั่งยืน เมืองเชียงใหม่มีความพร้อมใน 4 ปัจจัย ได้แก่ มีระบบการจัดการภัยพิบัติในเมืองที่อาจจะเกิดขึ้นอย่างมีประสิทธิภาพ มีองค์ประกอบพื้นฐานในการดำรงชีวิตเพียงพอต่อประชาชนทุกระดับ และสามารถรองรับผู้ที่จะมาพำนักระยะยาว มีการเก็บรักษามรดกทางวัฒนธรรม เพื่อให้เมืองเกิดการเรียนรู้อดีต เข้าใจวิถีเดิม และมีค่าครองชีพที่ไม่สูงมากและมีราคาที่เหมาะสมสำหรับกลุ่มนักท่องเที่ยวพำนักระยะยาว ส่วนอีก 13 ปัจจัยยังมีความพร้อม ซึ่งการศึกษาในครั้งนี้ได้เสนอแนะทางในการแนวทางการเตรียมความพร้อมเพื่อเข้าสู่การเป็นเมืองเชียงใหม่ที่เหมาะสมกับการพำนักระยะยาวอย่างเป็นรูปธรรมไว้ด้วย","PeriodicalId":428713,"journal":{"name":"Journal of Architectural/Planning Research and Studies (JARS)","volume":"36 1","pages":"0"},"PeriodicalIF":0.0000,"publicationDate":"2022-07-13","publicationTypes":"Journal Article","fieldsOfStudy":null,"isOpenAccess":false,"openAccessPdf":"","citationCount":"0","resultStr":null,"platform":"Semanticscholar","paperid":null,"PeriodicalName":"Journal of Architectural/Planning Research and Studies (JARS)","FirstCategoryId":"1085","ListUrlMain":"https://doi.org/10.56261/jars.v20i1.247622","RegionNum":0,"RegionCategory":null,"ArticlePicture":[],"TitleCN":null,"AbstractTextCN":null,"PMCID":null,"EPubDate":"","PubModel":"","JCR":"","JCRName":"","Score":null,"Total":0}
引用次数: 0

Abstract

งานวิจัยชิ้นเป็นการศึกษาปัจจัยหลักและปัจจัยสนับสนุนของการเป็นเมืองพำนักระยะยาวที่น่าอยู่น่าอาศัยอย่างยั่งยืนของเมืองท่องเที่ยวหลักของภาคเหนือ (เมืองเชียงใหม่) เพื่อนำไปสู่การเปรียบเทียบความพร้อมของเมืองเชียงใหม่ตามปัจจัยสนับสนุนการเป็นเมืองพำนักระยะยาวที่น่าอยู่อย่างยั่งยืน พื้นที่ศึกษาในครั้งนี้จะศึกษาครอบคลุมพื้นที่เมืองเชียงใหม่ ซึ่งอยู่ในขอบเขตอำเภอเมืองเชียงใหม่ โดยเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยจะเป็นการสัมภาษณ์เชิงลึกและการจัดประชุมระดมสมอง ผลการศึกษาพบว่า เมืองเชียงใหม่มีศักยภาพและความพร้อมในการพัฒนาสู่เมืองพำนักระยะยาวตามปัจจัยการเป็นเมืองพำนักระยะยาวที่น่าอยู่อย่างยั่งยืนในบางปัจจัยเท่านั้น โดยใน 17 ปัจจัยสนับสนุนการเป็นเมืองพำนักระยะยาวที่น่าอยู่น่าอาศัยอย่างยั่งยืน เมืองเชียงใหม่มีความพร้อมใน 4 ปัจจัย ได้แก่ มีระบบการจัดการภัยพิบัติในเมืองที่อาจจะเกิดขึ้นอย่างมีประสิทธิภาพ มีองค์ประกอบพื้นฐานในการดำรงชีวิตเพียงพอต่อประชาชนทุกระดับ และสามารถรองรับผู้ที่จะมาพำนักระยะยาว มีการเก็บรักษามรดกทางวัฒนธรรม เพื่อให้เมืองเกิดการเรียนรู้อดีต เข้าใจวิถีเดิม และมีค่าครองชีพที่ไม่สูงมากและมีราคาที่เหมาะสมสำหรับกลุ่มนักท่องเที่ยวพำนักระยะยาว ส่วนอีก 13 ปัจจัยยังมีความพร้อม ซึ่งการศึกษาในครั้งนี้ได้เสนอแนะทางในการแนวทางการเตรียมความพร้อมเพื่อเข้าสู่การเป็นเมืองเชียงใหม่ที่เหมาะสมกับการพำนักระยะยาวอย่างเป็นรูปธรรมไว้ด้วย
基于可持续发展的长期居住支撑因素,比较了清迈的长期居住支撑因素。
该研究主要研究了北部主要旅游城市(清迈)长期居住的主要因素和支撑因素。该研究将涵盖清迈地区,清迈地区是清迈地区。研究结果表明,基于长期居住因素,清迈只有在某些因素下才能可持续发展。在支持可持续发展的17个因素中,清迈有四个因素可供选择:城市灾害管理系统可能有效。对各级居民有足够的基本生活要素,可以容纳长期居住的人,可以保留文化遗产,让城市了解过去,了解传统的生活方式,对长期居住的游客来说,生活成本不高,价格合理。这项研究提出了一种方法,为清迈的长期居住做好准备。
本文章由计算机程序翻译,如有差异,请以英文原文为准。
求助全文
约1分钟内获得全文 求助全文
来源期刊
自引率
0.00%
发文量
0
×
引用
GB/T 7714-2015
复制
MLA
复制
APA
复制
导出至
BibTeX EndNote RefMan NoteFirst NoteExpress
×
提示
您的信息不完整,为了账户安全,请先补充。
现在去补充
×
提示
您因"违规操作"
具体请查看互助需知
我知道了
×
提示
确定
请完成安全验证×
copy
已复制链接
快去分享给好友吧!
我知道了
右上角分享
点击右上角分享
0
联系我们:info@booksci.cn Book学术提供免费学术资源搜索服务,方便国内外学者检索中英文文献。致力于提供最便捷和优质的服务体验。 Copyright © 2023 布克学术 All rights reserved.
京ICP备2023020795号-1
ghs 京公网安备 11010802042870号
Book学术文献互助
Book学术文献互助群
群 号:604180095
Book学术官方微信