{"title":"แนวคิดการพัฒนาย่านนวัตกรรม : กรณีศึกษาย่านนวัตกรรมการแพทย์และการดูแลสุขภาพโยธี","authors":"พนิต ภู่จินดา, เปี่ยมสุข สนิท","doi":"10.56261/jars.v19i2.245908","DOIUrl":null,"url":null,"abstract":"ย่านนวัตกรรม (Innovation District) คือ ย่านที่ดึงดูดผู้ประกอบการธุรกิจนวัตกรรมให้รวมกันเป็นคลัสเตอร์ โดยการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน เครื่องมือและกลไกที่เอื้อต่อการประกอบธุรกิจและส่งเสริมคุณภาพชีวิต รวมถึงการมีกลไกที่ส่งเสริมการสร้างสรรค์นวัตกรรมแบ่งปันความรู้ระหว่างกัน โดย “ย่านนวัตกรรมโยธี\" (Yothi Innovation District) เป็นต้นแบบย่านนวัตกรรมของประเทศ มุ่งเน้นการพัฒนานวัตกรรม 3 ด้าน ซึ่งสอดคล้องกับลักษณะของพื้นที่ที่เป็นหน่วยงานรัฐ สถานบริการสาธารณสุข และที่พักอาศัย ได้แก่ นวัตกรรมทางการแพทย์ (Medical Technology) นวัตกรรมสำหรับภาครัฐ (Government Technology) นวัตกรรมเพื่อการพัฒนาเมือง (City Technology) ซึ่งเป็นการจัดทำแผนพัฒนาและผังแม่บทย่านนวัตกรรม สร้างเครือข่ายผู้มีส่วนได้ส่วนเสียในการพัฒนาย่านนวัตกรรม และการจัดการโครงการหรือกิจกรรมที่ส่งเสริมและสนับสนุน โดยการพัฒนาย่านนวัตกรรมการแพทย์โยธีซึ่งมุ่งเน้นไปที่การพัฒนาด้าน Hardware (การพัฒนาด้านกายภาพและโครงสร้างพื้นฐาน) ด้าน Software (กฎหมาย นโยบายและมาตรการสนับสนุนต่าง ๆ) รวมถึงการบริการจัดการจะก่อให้เกิดผลลัพธ์ต่อผู้ใช้งานในพื้นที่ย่านนวัตกรรม และทำให้ย่านนวัตกรรมการแพทย์โยธีมีมูลค่าที่เพิ่มสูงขึ้น ซึ่งประชาชนผู้รับบริการสาธารณสุขภายในพื้นที่ย่านจะสามารถเข้าถึงพื้นที่ที่ง่ายและสะดวกสบายมากยิ่งขึ้น บุคลากรทางการแพทย์และโรงพยาบาล สามารถจัดการเวลาและบุคลากรในการให้บริการผู้ป่วย การพัฒนาเครือข่ายความร่วมมือระหว่างหน่วยงาน นักลงทุนและนักวิจัย การใช้มาตรการและนโยบายสนับสนุนการพัฒนานวัตกรรม และการพัฒนาพื้นที่สำหรับการวิจัย พัฒนา และทดลองนวัตกรรม และผลลัพธ์ทางด้านเศรษฐกิจในการพัฒนาย่านนวัตกรรมการแพทย์โยธีก่อให้เกิดการเพิ่มขึ้นของ GDP ที่เกิดขึ้นจากการพัฒนานวัตกรรมของโครงการมูลค่าโดยประมาณ 45,500 ล้านบาท","PeriodicalId":428713,"journal":{"name":"Journal of Architectural/Planning Research and Studies (JARS)","volume":"1 1","pages":"0"},"PeriodicalIF":0.0000,"publicationDate":"2022-03-11","publicationTypes":"Journal Article","fieldsOfStudy":null,"isOpenAccess":false,"openAccessPdf":"","citationCount":"0","resultStr":null,"platform":"Semanticscholar","paperid":null,"PeriodicalName":"Journal of Architectural/Planning Research and Studies (JARS)","FirstCategoryId":"1085","ListUrlMain":"https://doi.org/10.56261/jars.v19i2.245908","RegionNum":0,"RegionCategory":null,"ArticlePicture":[],"TitleCN":null,"AbstractTextCN":null,"PMCID":null,"EPubDate":"","PubModel":"","JCR":"","JCRName":"","Score":null,"Total":0}
引用次数: 0
创新区发展理念:创新区案例医学和医疗保健
创新区是一个吸引创新企业家聚集在一起的社区。通过发展基础设施、促进创业和提高生活质量的工具和机制,以及促进创新和知识共享的机制。以“政策创新区”为例,创新区集中在三个方面:这符合政府机构、公共卫生和住房的特点,包括医疗技术创新、公共技术创新、城市发展创新。创建创新社区发展的利益相关者网络,管理促进和支持的项目或活动。通过开发面向硬件的创新社区(物理和基础设施的发展),软件(法律、政策和支持措施),以及管理服务,将对创新社区的用户产生影响,使创新社区具有更高的价值。社区内的公共卫生服务人员将能够获得更方便、更方便的服务。医疗人员和医院人员可以管理病人服务的时间和人员,开发机构、投资者和研究人员之间的合作网络,使用政策和政策支持创新和开发空间,开发创新和经济成果,发展医疗创新区,实现价值项目创新的突破。45,5亿美元。
本文章由计算机程序翻译,如有差异,请以英文原文为准。