{"title":"การพัฒนาการท่องเที่ยวเมืองประวัติศาสตร์พระนครศรีอยุธยาและพื้นที่ทางวัฒนธรรมที่เกี่ยวข้อง: กรณีศึกษาการเก็บข้อมูลเชิงเอกสารของสถาปัตยกรรมที่เกี่ยวข้องกับบริบทการท่องเที่ยว","authors":"นิรันดร ทองอรุณ","doi":"10.56261/jars.v19i2.247224","DOIUrl":null,"url":null,"abstract":"บทความนี้แสดงถึงการศึกษาและวิเคราะห์ลักษณะทางกายภาพและสภาพแวดล้อมของงานสถาปัตยกรรม รวมถึงข้อมูลการเดินทาง เส้นทางเพื่อการท่องเที่ยว ตลอดจนศึกษาพัฒนาการทางด้านสถาปัตยกรรมในประเภทอาคารที่เกี่ยวข้องกับอุตสาหกรรมการท่องเที่ยว เช่น พิพิธภัณฑ์ โรงแรม ร้านอาหาร ร้านค้า ฯลฯ ในพื้นที่เกาะเมืองพระนครศรีอยุธยาและบริเวณใกล้เคียง ศึกษาและเสนอแนวทางในการจัดการสื่อและข้อมูลเพื่อการท่องเที่ยวในลักษณะของเอกสาร การบันทึกลักษณะทางกายภาพและมิติทางสถาปัตยกรรมผ่านการจัดเก็บข้อมูลในลักษณะต่างๆ โดยในการลงพื้นที่ศึกษางานศิลปะและสถาปัตยกรรมผ่านมิติการท่องเที่ยวเชิงประวัติศาสตร์ ทำให้เห็นกระบวนการและองค์รวมของศาสตร์แห่งการบูรณาการที่เกี่ยวเนื่องกัน อาทิ ลักษณะทางกายภาพและการออกแบบทางสถาปัตยกรรม การอนุรักษ์ การผังเมือง การศึกษาชุมชน โดยการบันทึกลักษณะทางกายภาพเชิงเอกสาร (Documentation) เช่น ภาพถ่าย (Photographs) ภาพวาด (Sketches) ภาพเขียน (Drawings) แบบทางสถาปัตยกรรม (Architectural Drawing) แบบจำลองเสมือนจริงและหุ่นจำลอง (Virtual Model/Physical Model) ฯลฯ กลายเป็นหลักฐานที่มีความสำคัญและมีค่าต่อการศึกษา พัฒนา และอนุรักษ์ งานสถาปัตยกรรมทีเกี่ยวข้องกับอุตสาหกรรมการท่องเที่ยวเชิงประวัติศาสตร์ โดยผลสัมฤทธิ์ของการศึกษาและเรียนรู้ดังกล่าว ส่งผลถึงการส่งเสริมข้อมูลทางด้านวิชาการ ประวัติศาสตร์ การท่องเที่ยว การอนุรักษ์ การทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม และพัฒนางานสถาปัตยกรรม นอกจากนั้นยังสามารถใช้องค์ความรู้ที่ได้ไปบูรณาการใช้กับศาสตร์แขนงอื่นๆ หรือการศึกษาในระดับที่สูงขึ้น อันจะเป็นข้อมูลที่มีประโยชน์ต่อการบริหารจัดการและพัฒนาศักยภาพของพื้นที่และพัฒนาการท่องเที่ยวเมืองประวัติศาสตร์และพื้นที่ทางวัฒนธรรมที่เกี่ยวข้องต่อไป","PeriodicalId":428713,"journal":{"name":"Journal of Architectural/Planning Research and Studies (JARS)","volume":"99 1","pages":"0"},"PeriodicalIF":0.0000,"publicationDate":"2022-04-22","publicationTypes":"Journal Article","fieldsOfStudy":null,"isOpenAccess":false,"openAccessPdf":"","citationCount":"0","resultStr":null,"platform":"Semanticscholar","paperid":null,"PeriodicalName":"Journal of Architectural/Planning Research and Studies (JARS)","FirstCategoryId":"1085","ListUrlMain":"https://doi.org/10.56261/jars.v19i2.247224","RegionNum":0,"RegionCategory":null,"ArticlePicture":[],"TitleCN":null,"AbstractTextCN":null,"PMCID":null,"EPubDate":"","PubModel":"","JCR":"","JCRName":"","Score":null,"Total":0}
引用次数: 0
大城府历史城市旅游发展及相关文化空间:与旅游背景相关的建筑文献收集案例研究
本文主要研究和分析了建筑工作的物理和环境特征,包括旅游路线信息,以及与旅游相关的建筑发展,如岛上的博物馆、酒店、餐厅、商店等。通过历史旅游的维度,探索艺术和建筑的融合过程和整体科学,包括建筑特征和建筑设计,城市保护,社区教育。通过记录照片、绘画、绘画、虚拟现实和虚拟假人等形式的物理特征,对研究、发展和保护与历史旅游相关的建筑工作具有重要价值。教育和学习的成果促进学术信息、历史、旅游、保护、文化艺术和建筑的发展。此外,知识组织也可以应用于其他领域或更高层次的教育,这将有助于管理和发展空间潜力,并进一步发展相关的旅游、城市、历史和文化领域。
本文章由计算机程序翻译,如有差异,请以英文原文为准。